เกษตรทั่วไป

General Agriculture

1.1 เข้าใจประเภทของฟาร์มการเกษตรท่วั ๆไป แบ่งได้เป็นการผลิตพืช การผลิตสัตว์เศรษฐกิจ และการผลิตสัตว์น้ำ 1.2 เข้าใจระบบและปัจจัยท่เี กี่ยวข้องกับการจัดการผลิตพืช สัตว์เศรษฐกิจ และการผลิตสัตว์น้ำ 1.3 มีทักษะเบ้อื งต้นในการผลิตพืช การผลิตสัตว์เศรษฐกิจ และการผลิตสัตว์น้ำ 1.4 นำความรู้ ทักษะเบ้อื งต้นในการดูแลรักษาและการจัดการศัตรูทางการเกษตร ไปประยุกต์ใช้ในการผลิตเกษตร ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน 1.5 นำความรู้ ทักษะเบ้อื งต้นในด้านการตลาดเกษตร ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการสินค้าเกษตรท่ผี ลิตได้ ในชีวิตประจำ วัน 1.6 มีเจตคติท่ดี ีต่อวิชาเกษตรท่วั ไป
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตพืช สัตว์ และการเพาะเลี้ยงสัตว์นำในปัจจุบันท่มี ีการพัฒนาและ เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา ซ่งึ ก้าวหน้ากว่าการเรียนการสอนตามหลักสูตรเก่า ดังนัน นักศึกษาในปัจจุบันนอกจาก ต้องมีความรู้การเกษตรท่วั ๆไปแล้ว จะต้องตามทันความรู้วิทยาการเทคโนโลยีใหม่ๆท่เี กิดขึ้นในวงการการเกษตร ส่วนในด้านการเรียนการสอนก็มีการปรับปรุงให้มีการพัฒนามีความทันสมัยสอดคล้องกับความรู้วิทยาการ เทคโนโลยีใหม่ๆตามไปด้วย เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเพิ่มผลผลิต หาทางป้องกัน และแก้ปัญหาการเกษตรต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเก่ยี วกับระบบการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์และเพาะเลี้ยงสัตว์น้าํ ปัจจัยท่เี กี่ยวข้องกับการจัดการ ฟาร์ม การดูแลรักษาและการจัดการศัตรูทางการเกษตร และการตลาดที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเกษตร
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนานักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อ่นื ในสังคมอย่างราบร่นื และเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม อาจารย์ท่สี อนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม เกิดขึ้น เช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่น ๆ ดังนี้ 1. มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึงศรัทธาในความดี มีหลักคิด และแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่า ความเป็นมนุษย ์ มีความรับผิดชอบมีศีลธรรมซ่อื สัตย์สุจริต และสามารถอยู่กับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 2. มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าช้นั เรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายท่เี ป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่ม น้นั ต้องฝึกให้รู้หน้าท่ขี องการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซ่อื สัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการ สอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากน้อี าจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมใน การสอนทุกรายวิชา รวมท้งั มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาท่ที ำดีทำ ประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ เป็นต้น
1. ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าช้นั เรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรมท่กี ำหนด 2. ประเมินความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. ประเมินความซ่อื สัตย์สุจริตในการทำงานท่ไี ด้รับมอบหมายและการสอบ 4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าท่ที ่ไี ด้รับมอบหมาย 5. ประเมินจากผลงานท่ไี ม่คัดลอกผลงานผู้อื่น หรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผล งาน 6. ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานในช้นั เรียน ท่ไี ม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
2.1 ความรู้ท่ตี ้องได้รับ นักศึกษาต้องมีความรู้เก่ยี วกับวิชาชีพทางการเกษตรและช่วยพัฒนาสังคม ดังน้นั มาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุม สิ่งต่อไปนี้ 1.มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ (พืชศาสตร/์ สัตวศาสตร/์ ประมง) ท่เี รียน อย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ให้มีความรู้ท่ที ันสมัยในสาขาวิชาชีพท่เี กี่ยวข้อง 2.มีความรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชา และสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีพ รู้เท่าทันการเปล่ยี นแปลง ของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลานรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ท้งั น้ใี ห้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเน้อื หาสาระของรายวิชา น้นั ๆ นอกจากน้คี วร จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมีการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญท่มี ี ประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ เฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฎิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ คือ 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานท่นี ักศึกษาจัดทำ 4. ประเมินจากแผนงานหรือโครงการท่นี ำเสนอ 5. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในช้นั เรียน 6. ประเมินจากรายวิชาฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
3.1 ทักษะทางปัญญา ท่ตี ้องพัฒนา ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เม่อื จบการศึกษาแล้ว ดังน้นั นักศึกษาจำเป็นต้องได้ รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรมจริยธรรม และความรู้ในขณะท่สี อนนักศึกษา อาจารย์ต้องเน้นให้นักศึกษา คิดหาเหตุผล เข้าใจท่มี าและสาเหตุของปัญหา วิธีการ แก้ปัญหารวมท้งั แนวคิดด้วยตนเอง นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ จากการสอนให้เกิดทักษะทางปัญญา ดังนี้ 1. สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 2. สามารถคิดริเริมสร้างสรรค ์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริมสร้างสรรค์จากพื้นฐานของ ความรู้ท่เี รียน นำ มาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติม จากแหล่งต่าง ๆ อย่างสมำเสมอ และรู้จักเทคนิควิธี และกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 1. บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตรเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจประเมิน ข้อมูลและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย 2. การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลทีได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ท่เี รียนมาแก้ไข โจทย์ปัญหาท่กี ำหนด 3. ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของ นักศึกษา เช่น 1 ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในช้นั เรียน 2 สัมภาษณ์หรือสอบปากเปล่า 3 การทดลองโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ท่ตี ้องพัฒนา ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึง ส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลอ่นื ความสามารถท่จี ะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่าง ๆ เป็นเร่อื งจำเป็นอย่างยิ่ง ดัง น้นั อาจารย์ต้องสอดแทรกการสอนที่เกี่ยวข้องกับทักษะทางสังคมดังต่อไปนี้ 1. ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟัง ความคิดเห็นของ ผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความ คิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซ่อื สัตย์สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับ และสถานการณ์ทีเหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาท หน้าท่ขี องตนเองในฐานะผู้นำและผู้ตาม 2. มีจิตอาสาและสำนึก สาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติมีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
กลยุทธ์การสอนทีใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ใช้การสอนที่ มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่มการทำงานท่ตี ้องประสานงานกับผู้อ่นื หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจาก การสัมภาษณ์บุคคลอ่นื หรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้ 1. สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่นื ได้ 2. มีความรับผิดชอบต่องานท่ไี ด้รับมอบหมาย 3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรท่ไี ปปฏิบัติงานได้ 4. มีมนุษยสัมพันธ์ท่ดี ีกับโรงงานในองค์กรและกับบุคคลท่วั ไป 5. มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อ่นื 6. สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
กลยุทธการประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรม และการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมท่แี สดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล  
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ตี ้องพัฒนา ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยี สารสนเทศมีความสำคัญในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพนักศึกษาต้องมีความรู้และมีทักษะในการ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นเคร่อื งมือในการปฏิบัติงานการติดต่อส่อื สารและการพัฒนาตนเอง ดังน้นั นักศึกษา จำเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาทักษะทีเก่ยี วกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีไปพร้อมกับ คุณธรรม จริยธรรม และความรู้ด้านเกษตรศาสตร ์ ดังนี้ 1. มีทักษะการส่อื สารหมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ท้งั การฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารให้ เหมาะสมกับ สถานะการณ์และการใช้ภาษาอังกฤษในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 2. มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่เี หมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาเกษตรท่วั ไป ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณืจำลอง สถานการณ์ เหมือนจริง หรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษา หรือในการปฏิบัติงานจริงแล้วนำเสนอการแก้ปัญหาท่เี หมาะสม เรียนรู้ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้ข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่ เกี่ยวข้อง ในการนำเสนอข้อมูล 2. ประเมินจากความสามารถจากการอธิบายถึงข้นั ตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครือ งมือต่าง ๆ ประมวลผลและแปลความหมาย 3. การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่เี หมาะสม
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย นักศึกษาต้องมีทักษะทางวิชาชีพคือมีทักษะและความเช่ยี ววชาญในการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานวิชาชีพสามารถแก้ปัญหาได้ อย่างเปนระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ท่เี รียนมาและพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ ทางวิชาชีพ
กลยุทธการสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติ ใช้การเรียนการสอนท่หี ลากหลายโดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาเกษตรท่วั ไปให้ นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสมำเสมอ
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและทักษะการ ปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ 1. ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง 2. ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3. ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มี คุณธรรม และ จริยธรรม หมายถึง ศรัทธาใน ความดี มี หลักคิด และแนว ปฏิบัติใน ทางส่ง เสริม ความดี และ คุณค่า ความเป็น มนุษย์ มี ความรับ ผิดชอบ มีศีล ธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต และ สามารถ อยู่ร่วม กับผู้อื่น ในสังคม อย่าง สันติ 2. มี จรรยา บรรณ หมายถึง มี ระเบียบ วินัย และ เคารพ กติกา ของ สังคม ประพฤติ ปฏิบัติ ตาม จรรยา บรรณ วิชาชีพ 1. มีความรู้ ในสาขา วิชาชีพ หมายถึง มี ความรู้ ความเข้าใจ ในสาชา วิชาชีพ(พืช ศาสตร์/ สัตว ศาสตร์/ ประมง) ที่ เรียนอย่าง ถ่องแท้ และเป็น ระบบ ทั้ง หลักการ ทฤษฎี และ การ ประยุกต์ใช้ ความรู้ที่ ทันสมัยใน สาขาวิชาที่ เกี่ยวข้อง 2. มีความ รอบรู้ หมาย ถึง มีความรู้ ในหลายสาขา วิชา และ สามารถ ประยุกต์ใช้ ในการดำรง ชีพ รู้เท่าทัน การ เปลี่ยนแปลง ทาง เทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจ และสิ่ง แวดล้อม 1. สามารถ คิด วิเคราะห์ งาน อย่าง เป็น ระบบ หมาย ถึง มี ทักษะใน การคิด วิเคราะห์ อย่างมี เหตุผล และคิด แบบ องค์ รวม 2. สามารถ คิดริเร่มิ สร้างสรรค์ หมายถึง ความ สามารถใน การคิด ริเร่มิ สร้างสรรค์ จากพื้น ฐานของ ความรู้ที่ เรียน นำ มาพัฒนา นวัตกรรม หรือสร้าง องค์ความ รู้ใหม่ 3. ใฝ่รู้และ รู้จักวิธีการ เรียนรู้ หมายถึง แสวงหา ความรู้เพิ่ม เติมจาก แหล่งต่าง ๆ อย่าง สมำเสมอ รู้จักเทคนิค วิธี และ กระบวนการ ในการเรียน รู้ และสามา รถนำไปใช้ ในการ แสวงหา 1. ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้า แสดงออก กล้าหาญ อดทน หนัก แน่น รู้จัก เสียสละ ให้ อภัย และ รับฟังความ คิดเห็นของ ผู้อื่น สุภาพ สามารถ ประสาน ความคิด และ ประโยชน์ ด้วยหลัก แห่งเหตุผล และความ ถูกต้อง มี ความ ซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำ กิจกรรมได้ ทุกระดับ และ สถานการณ์ ที่เหมาะสม มีความรับ ผิดชอบต่อ บทบาท หน้าที่ของ ตนเองท้ 2ิ.จิตอา สาและสำ นึก สาธารณะ หมายถึง มีจิตสำ นึก ห่วงใย ต่อสังคม สิ่ง แวดล้อม และ สาธารณ สมบัติมี จิตอาสา ไม่ดูดา ยมุ่งทำ ประโยชน์ ให้สังค
1 BSCAG001 เกษตรทั่วไป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการผลิตสัตว์ 1.1, 1.2, 1.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการผลิตพืช 2.1, 2.2, 2.3,2.4, 2.5, 2.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าํ 3.1, 3.2, 3.3 การทำงานกลุ่ม การนำเสนอ ผลงานท่มี ีการสืบค้นอย่างถูกต้อง และส่งงานที่มอบหมาย ตามเวลาท่กี ำหนด 1-16 45%
2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการผลิตสัตว์ 1.1, 1.2, 1.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการผลิตพืช 2.1, 2.2, 2.3,2.4, 2.5, 2.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าํ 3.1, 3.2, 3.3 สอบเก็บคะแนนในแต่ละหน่วย 1-16 45%
3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการผลิตสัตว์ 1.1, 1.2, 1.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการผลิตพืช 2.1, 2.2, 2.3,2.4, 2.5, 2.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าํ 3.1, 3.2, 3.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปรายและเสนอความคิดเห็น ในช้นั เรียน 1-16 10%
เกรียงศักดิเม่งอาพัน.2548.หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าํ .ภาควิชาเทคโนโลยีการประมง คณะผลิต กรรมการ เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.เชียงใหม่.238หน้า. อภิพรรณ พุกภักดี เอ็จ สโรบล จินดารัฐ วีระวุฒิ พร รุ่งแจ้ง เจริญศักดิโร จนฤทธิพิเชษฐ์อัมพร สุวรรณเมฆ อิสรา สุขสถาน และจวงจันทร์ดวงพัตรา.2541.หลักการผลิตพืช.Ag-eBook – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ลร์.269.หน้า
วารสารทางวิชาการท่เี กี่ยวข้องกับด้านการผลิตพืช สัตว์และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าํ ได้แก่ วารสารสัตวบาล เป็นต้น
เว็บไซต์ด้านการเกษตรต่างๆ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ท่เี กียวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชาโดย สืบค้นหาจากคำ สำคัญในเน้อื หารายวิชาเช่น www.doa.go.th www.fao.org/agris/default32.htm www.dld.go.th www.hydroponics.th.com www.kasetsiam.com www.doae.go.th/plant/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาน้ที ่จี ัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะ ผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยฯ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการ เรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมิน การเรียนเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ2. จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหา ข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการ เรียนรู้ของนักศึกษาและ ร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมท้งั ข้อคิด เห็น เพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนท้งั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวน เน้อื หาที่สอนและ กลยุทธ์การสอนที่ใช้นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลียนแปลงการดำเนินการในรายละ เอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอ ในท่ปี ระชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป จากผลการประเมินและทวนสอบผล สัมฤทธิประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อ ให้เกิดคุณภาพมากขึน ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิตามข้อ4. 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเร่อื งการประยุกต์ความรู้น้กี ับปัญหาท่มี าจากงานวิจัย ของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง