การออกแบบระบบไฟฟ้า

Electrical System Design

1.1  เข้าใจมาตรฐานการออกแบบระบบไฟฟ้า
1.2  เข้าใจอุปกรณ์ป้องกันและการป้องกันระบบไฟฟ้า
1.3  เข้าใจสายไฟฟ้าและทางเดินสาย
1.4  เข้าใจการกำหนดสายวงจรย่อย สายป้อนและสายประธาน
1.5  เข้าใจการเขียนตารางโหลด ผังการจ่ายโหลด
1.6  เข้าใจการต่อลงดินสำหรับระบบไฟฟ้า
1.7  เข้าใจการออกแบบวงจรมอเตอร์ไฟฟ้าและเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
1.8  เข้าใจการออกแบบระบบไฟฟ้าสำหรับบ้านพักอาศัย อาคารพาณิชย์ และโรงงานอุตสาหกรรม
1.9  เข้าใจการคำนวณกระแสลัดวงจรและแรงดันตก
1.10  เข้าใจเทคนิคการปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
1.11  เข้าใจการออกแบบระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน
   ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟ้า มาตราฐานและข้อกำหนด ผังการจ่ายกำลังไฟฟ้า สายไฟฟ้าและทางเดินสาย อุปกรณ์ไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า การคำนวณโหลด การปรับปรุงตัวประกอบกำลังและการออกแบบชุดตัวเก็บประจุ การออกแบบวงจรแสงสว่างและวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้า การออกแบบวงจรมอเตอร์ไฟฟ้า ตารางโหลด สายป้อนและสายประธานระบบไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน การคำนวณกระแสลัดวงจรและการต่อลงดินสำหรับระบบไฟฟ้า
จำนวน  3  ชั่วโมง / สัปดาห์  ในทุก ๆ วันพุธ
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
2. ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
3. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2. ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
3. การขานชื่อ   การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชวิศวกรรมไฟฟ้า
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขา
3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2. มอบหมายให้ทำรายงานเรื่องการออกแบบระบบไฟฟ้าและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3. จัดศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมการเรียนรู้
1. ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ
2. พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย
3. สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าศูนย์การเรียนรู้
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
2. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
1. ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
2. ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
2. กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
3. ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4. ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปรายและเสวนางานที่มอบหมายที่ให้ค้นคว้า
1. พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
2. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
3. ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
4. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ส่งเสริมการค้นคว้า  เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง  และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
1. ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 20% 10% 20%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์การออกแบบและเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า การทำแบบฝึกหัดตามมอบหมาย การทำงานกลุ่มและผลงาน การสรุปผลการปฏิบัติงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.  ชลชัย  ธรรมวิวัฒนุกูร.  (2546).  การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้า.  พิมพ์ครั้งที่ 1. 
      กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอ็มแอนด์อี จำกัด
2.  ธนบูรณ์  ศศิภานุเดช.  (2538).  การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง.  กรุงเทพมหานคร :
    บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
3.  นพ มหิษานนท์, และจิระ จริงจิตร, (บรรณาธิการ).  (2558).  มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าภายใน
    และภายนอกอาคาร.  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ คอร์ฟังก์ชั่น
4.  ประสิทธิ์  พิทยพัฒน์.  (2548).  การออกแบบระบบไฟฟ้า.  พิมพ์ครั้งที่ 2.  กรุงเทพมหานคร :
    บริษัท ทีซีจี พริ้นติ้ง จำกัด
5.  ประสิทธิ์  พิทยพัฒน์.  (2551).  การป้องกันระบบไฟฟ้า.  พิมพ์ครั้งที่ 3.  กรุงเทพมหานคร :     
    บริษัท จี.บี.พี เซ็นเตอร์ จำกัด
6.  ประสิทธิ์  พิทยพัฒน์.  (2557).  การออกแบบระบบไฟฟ้า.  พิมพ์ครั้งที่ 4.  กรุงเทพมหานคร :   
    ห้างหุ้นส่วนจำกัด โชติอนันต์ ครีเอชั่น
7.  ลือชัย  ทองนิล.  (2558).  การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานของการไฟฟ้า
    (ปรับปรุงครั้งที่ 3).  พิมพ์ครั้งที่ 34.  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
8.  วรรณกร  พรหมอารีย์.  (2558). เอกสารประกอบการสอนวิชาการออกแบบระบบไฟฟ้า. 
    น่าน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
9.  วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.  (2556).  มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า
     สำหรับประเทศไทย พ.ศ.2556.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  กรุงเทพมหานคร : บริษัท โกลบอล กราฟฟิค
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ