การออกแบบดิสเพลย์

Display Design

จุดมุ่งหมายของรายวิชา รายวิชานี้มีจุดประสงค์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้ (นำเสนอโดยเทียบเทียงกับผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และสัญลักษณ์ที่ใช้มีความหมายดังนี้ ˜ หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก / สัญลักษณ์ ™ หมายถึง ความรับผิดชอบรอง) ด้านคุณธรรมจริยธรรม ™ มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ ˜ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ™ เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิศ์รีของความเปน็มนุษย์   ด้านความรู้ ˜ มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ™ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ™ มีความสามารถในการติดตามงานวิจัยและองค์ความรู้ใหม่   ด้านทักษะทางปัญญา ˜ มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ ˜ มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ   ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ™ มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี ™ มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ˜ สามารถทางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ™ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม   ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ˜ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ™ สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ™ สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          บัจจุบันการส่งเสริมการขายได้มีบทบาทเป็นอย่างมากโดยการแสดงสินค้าเพื่อเชิญชวนหรือบอกถึงชนิดของสินค้า ดังนั้นการส่งเสริมการขายจึงจัดอยู่ในรูปแบบของ นิทรรศการและการแสดงสินค้า โดย นิทรรศการ คือรูปแบบหรือวิธีการถ่ายทอดความรู้โดยนําเอาวัสดุอุปกรณ์หรือสื่อมาผสมผสานกันและนําเสนออย่างเป็นระบบ เช่น ภาพ ของจริง หุ่นจําลอง เอกสารคําแนะนํา สไลด์  วิดีทัศน์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ เพื่อกระตุ้นความสนใจและทําให้ผู้ดูเกิดความ เข้าใจในเนื้อหาของนิทรรศการได้รวดเร็วขึ้น อาจกล่าวได้ว่าเป็นการเรียนรู้ที่ใกล้เคียงกับประสบการณ์ตรง โดยผู้ชมสามารถรับรู้ได้จากประสาทสมผัสทั้งห้า ส่วนการจัดแสดงสินค้าคือการให้ความสำคัญกับการจัดแสดงสินค้าภายในร้านโดยการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยภายในร้านให้เกิดประโยชน์สูงสุดแต่ต้องคำนึงถึงความสะดวกสบายที่ลูกค้าจะได้รับจากการเดินเลือกซื้อสินค้าภายในร้าน การจัดแสดงที่ใช้หลักศิลปะมาช่วยในการกำหนดหมวดหมู่ ประเภทของสินค้า  จัดวางในที่ที่เหมาะสมสวยงามทำให้ลูกค้าเกิดความสะดวกในการเลือกชมสินค้า เป็นการเร่งการตัดสินใจซื้อให้เร็วขึ้น               ด้วยเหตุดังกล่าว นิทรรศการและการแสดงสินค้าจึงได้รับความสาคัญเพิ่มขึ้นมาเป็นอย่างมาก และเป็นองค์ประกอบหลักที่ผู้ผลิตนำมาเป็นเครื่องมือสำหรับการส่งเสริมการขาย เป็นผู้ช่วยขายผลิตภัณฑ์ เพราะสามารถแสดงตัวหรือข้อมูล ต่อผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็ว ยิ่งสินค้าผลิตภัณฑ์มีการคิดค้น การผลิต การแข่งขันมากเท่าใด นิทรรศการและการแสดงสินค้าก็จะได้รับการพัฒนาขึ้นตามไปมากเท่านั้น               ด้วยเหตุดังกล่าวจึงปรับการสั่งงานให้เข้าสู่การทำงานจริงมากขึ้น โดยให้นักศึกษาได้มีการศึกษาข้อมูลให้ละเอียด สามารถวิเคราะห์ข้อมูลดุถูกต้อง เพื่อนำมาศึกษาและแสดงออกด้านความคิดเห็น และการสร้างรูปแบบของงานให้มีความสอดคล้องกับตัวงานหรือสินค้าที่ได้การวิเคราะห์ข้อมูลมาแล้ว และสามารถสรุปการทำงานที่ผ่านมา ว่าได้รับความรู้ความเข้าใจในการทำงานและผลการทำงานออกมาในรูปแบบใด
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ประเภทและชนิดของการแสดงสินค้าและนิทรรศการหลักการในการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ  จิตวิทยาในการออกแบบนิทรรศการการเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ  ระบบงานที่ใช้ประกอบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
อาจารย์ประจารายวิชา แจ้งให้นักศึกษาทราบถึงเวลาให้คาปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
˜ มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมด้านการออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ     ™ มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพด้านการออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ ˜ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ™ เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ü บรรยาย ๑(๓) ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๑(๒),๑(๓) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๑(๒),๑(๓) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๑(๑),๑(๒),๑(๓)   นำเสนอข้อมูล ๑(๒)   สาธิต/ดูงาน   ü ฝึกปฏิบัติ ๑(๓) ü ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม ๑(๑),๑(๒),๑(๓),๑(๔)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ๑(๓),๑(๔) ü ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๑(๑),๑(๒) ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๑(๑),๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๑(๒).๑(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๑(๓)   ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสอบปากเปล่า   ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ๑(๓),๑(๔)   ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
˜ มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในการออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ ™ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของการออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ ™ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
บรรยาย ๒(๑),๒(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๒(๑),๒(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๒(๑),๒(๓),๒(๓) ü นำเสนอข้อมูล ๒(๑) ü สาธิต/ดูงาน ๒(๑),๒(๓),๒(๓) ü ฝึกปฏิบัติ ๒(๑),๒(๓)   ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
 ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด   ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๒(๑),๒(๒) ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๒(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๒(๑)   ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสอบปากเปล่า     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา -มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านการออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ ™ มีทักษะในการนาความรู้ด้านการออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการมาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยาย ๓(๑),๓(๒)   มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)   ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๓(๑) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๓(๑),๓(๒) ü นำเสนอข้อมูล ๓(๑),๓(๒) ü สาธิต/ดูงาน ๓(๑),๓(๒) ü ฝึกปฏิบัติ ๓(๑),๓(๒)   ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
™ มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี ™ มีภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ˜ สามารถทางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ™ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
  บรรยาย     มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)   ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๔(๑),๔(๒) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๔(๒),๔(๓)   นำเสนอข้อมูล   ü สาธิต/ดูงาน ๔(๑),๔(๒),๔(๓) ü ฝึกปฏิบัติ ๔(๒),๔(๓) ü ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ ๔(๑),๔(๒),๔(๓),๔(๔)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ๔(๑)   ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง   ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๔(๒) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๔(๒),๔(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๔(๒),๔(๓)   ประเมินจากการสอบข้อเขียน     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสอบปากเปล่า   ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ๔(๓),๔(๔)   ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
˜ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ™ สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้านการออกแบบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ™ สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยาย   ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๕(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๕(๑),๕(๒) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๕(๑),๕(๒),๕(๓) ü นำเสนอข้อมูล ๕(๑)   สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
  ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง   ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๕(๑) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๕(๑),๕(๒) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๕(๑),๕(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๕(๑),๕(๒)   ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสอบปากเปล่า     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BAACD140 การออกแบบดิสเพลย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑(๑),๑(๓),๑(๓),๑(๔),๒(๑),๒(๒),๒(๓),๔(๑),๔(๓),๔(๔) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลองและการศึกษาดูงาน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๑-๑๗ ๑๐
2 ๑(๒),๑(๓),๒(๑),๒(๒),๒(๓),๓(๑),๓(๒),๔(๒),๕(๑) ผลงานรายบุคคล (วิเคราะห์ข้อมูลของการแสดงสินค้าและนิทรรศการ) ๑-๑๕ ๒๐
3 ๑(๒),๑(๒),๑(๓),๒(๑),๒(๒),๒(๓),๓(๑),๓(๒),๔(๒),๔(๓),๕(๑),๕(๒) ผลงานกลุ่ม (การออกแบบการแสดงสินค้าและนิทรรศการแบบองค์รวม) ๑-๑๕ ๔๐
4 ๑(๒),๑(๒),๑(๓),๒(๑),๓(๑),๓(๒),๔(๒),๔(๓),๕(๒),๕(๓) การนำเสนอ ๘,๑๖ ๑๐
5 ๑(๓),๒(๑),๓(๒),๕(๑),๕(๒) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) ๙,๑๗ ๒๐
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
เพ็ญศรี  เขมะสุวรรณ.(2527).การจัดแสดงสินค้า.กรุงทพฯ:สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. ภนิดา สวัสดิ์วรชีพร.(2536).คู่มือการจัดนิทรรศการ,กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์. วรพจน์ นวลสกุล.(2550).การจัดนิทรรศการ EXHIBITION.มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วรรธน์ จันทร์เทพย์.(2548).การจัดแสดงและนิทรรศการ. คณะครุศาสตร์.มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
๑. หนังสือ เรื่อง เล่าให้คลิก พลิกแบรนด์ Content Marketing. ๒. หนังสือ เรื่อง Marketing for work งานตลาด “จากการวางแผน สู่การปฏิบัติ” ๓. เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการแสดงสินค้าและนิทรรศการ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ ๑.๑ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ๑.๒ แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ๑.๓ ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ ๒.๑ การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ๒.๒ ผลการเรียนของนักศึกษา ๒.๓ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ ๓.๑ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน ๓.๒ การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ ๔.๑ การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร ๔.๒ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ ๕.๑ ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 ๕.๒ เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ