คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบ

Computer Aided Design

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวการออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรม ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบกด้วยคำสั่งในการตั้งค่าโปรแกรม คำสั่งการสร้างความสัมพันธ์ ชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งในการสร้างชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการแก้ไขชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการบอกขนาด ชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการควบคุมคุณสมบัติของชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการแทรกบล็อก ชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการสั่งพิมพ์แบบงาน
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะความเข้าใจเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบเขียนแบบ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้โปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบตามมาตรฐานสากลได้
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์กับงานในเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวการออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรม ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบกด้วยคำสั่งในการตั้งค่าโปรแกรม คำสั่งการสร้างความสัมพันธ์ ชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งในการสร้างชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการแก้ไขชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการบอกขนาด ชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการควบคุมคุณสมบัติของชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการแทรกบล็อก ชิ้นงาน 2 มิติ คำสั่งการสั่งพิมพ์แบบงาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ คำนึงถึงความซื่อสัตย์ในการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบและเขียนแบบเชิงวิศวกรรมโดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม(ตามข้อ 1.1)ในการเรียนการสอนโดยยกตัวอย่างกรณีศึกษา
ใช้ระบบการส่งงานที่ตรงเวลาเป็นวิธีการสอนการ มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   สอบวัดความรู้กลางภาคและปลายภาคการศึกษา
(1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
 (2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
 (3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ
      (1) การทดสอบย่อย
      (2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
 3.1.1พัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบและเขียนแบบทางวิศวกรรม
3.1.2 พัฒนาทักษะเทคโนโลยีในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบ
3.1.3 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ และสามารถตกผลึกทางความคิดได้
3.2.1 ฝึกการใช้คำสั่งสำหรับการสร้างรูปทรงทางเรขาคณิต 2  มิติ
3.2.2 ฝึกปฏิบัติการการขึ้นรูปชิ้นงาน 3  มิติการประกอบงาน การทำแบบสั่งงาน ตามหลักสากลจากแบบฝึกหัดในชั้นเรียน(Quiz)และการบ้าน(Home Work)ที่จัดเตรียมไว้ให้ในแต่ละสัปดาห์
3.2.3 สอนโดยการแสดงการขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นงานตามตัวอย่างโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สร้างรูป 3 มิติ ช่วยอธิบาย
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดทักษะ ฝีมือ ความถูกต้อง และความเข้าในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคลและเป็นโจทย์ที่เหมือนกัน เพื่อให้เกิดการแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน มีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสร้างความรับผิดชอบร่วมกัน
4.3.1   วัดผลจากการผลงานที่ได้รับ(Quiz และ Home Work)
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข เช่น การเทียบขนาด(scale)การหาระยะจริง(True length)การหาพื้นที่จริง (True side)เป็นต้น
การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ(Learning by Doing )ผ่านแบบฝึกหัดและการบ้าน
5.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดทักษะ ฝีมือ ความปราณีต และความเข้าในการเขียนแบบทางวิศวกรรม
        (1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อ
ต่อไปนี้
       (1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
       (2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
       (1) มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
       (2)  มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค 8 25%
2 2.1 สอบปลายภาค 16 25%
3 1.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-7,9-15 10%
4 2.1 ทดสอบย่อย 1 ทดสอบย่อย 2 4,5 10%
5 2.1 ผลงานภาคปฏิบัติการ 14 15%
6 5.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน ตลอดหลักสูตร 5%
ธนัชสร  จิตต์เนื่อง. คู่มือใช้งาน  Auto CAD 2013.สำนักพิมพ์ บริษัท สวัสดี ไอ ที จำกัด.กรุงเทพฯ .2556
    ประเสริฐ ก๊วยสมบูรณ์ . ตารางโลหะ . สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.กรุงเทพฯ .2524
    อภิรัตน์  บางศิริ.   Auto CAD 2013สำหรับผู้เริ่มต้น .สำนักพิมพ์ ซิมพลิฟาย .กรุงเทพฯ .2556
          อำนวย อุดมศรี . เขียนแบบวิศวกรรม . บริษัท สยามสปอร์ตซินดิเคท จำกัด . กรุงเทพฯ . 2540  
 ธนัชสร  จิตต์เนื่อง. คู่มือใช้งาน  Auto CAD 2013.สำนักพิมพ์ บริษัท สวัสดี ไอ ที จำกัด.กรุงเทพฯ .2556
     ประเสริฐ ก๊วยสมบูรณ์ . ตารางโลหะ . สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.กรุงเทพฯ .2524
    อภิรัตน์  บางศิริ.   Auto CAD 2013สำหรับผู้เริ่มต้น .สำนักพิมพ์ ซิมพลิฟาย .กรุงเทพฯ .2556
          อำนวย อุดมศรี . เขียนแบบวิศวกรรม . บริษัท สยามสปอร์ตซินดิเคท จำกัด . กรุงเทพฯ . 2540  
          Henry Cecil Spencer , John Thomas Dygdon , James E. Novak . BASIC TECHNICAL DRAWING . Glencoe McGraw-Hill. 2000
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ