การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์

Graphic Design for Packaging

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ รวมทั้งมีทักษะในการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ในแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง เพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาอื่นๆ อย่างเหมาะสม โดยตระหนักถึงคุณค่า คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต  
เพื่อพัฒนาให้นักศึกษาปฎิบัติงานกราฟฟิกบรรจุภัณฑ์ให้เข้ากับสภาพของโลกปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการในการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ หลักการในการประยุกต์ใช้ส่วนประกอบต่างๆ ในการออกแบบกราฟิก เช่น ตราสัญลักษณ์ ตัวอักษร ภาพถ่าย ภาพประกอบ บนภาชนะและบรรจุภัณฑ์ ทฤษฎีการสื่อสารและหลักการตลาดให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า รวมถึงระบบงานพิมพ์เพื่องานบรรจุภัณฑ์
- นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามต้องการ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
     -  มีจิตสำนึกด้านคุณธรรมและจริยธรรม
     -  มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพการออกแบบกราิกบรรจุภัณฑ์
     -  มีวินัย และตรงต่อเวลา
     -  บรรยาย
     -  อภิปรายกลุ่ม
     -  การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว
     -  การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
     -  ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน    
     -  ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด    
     -  ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
 
     -  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์
     -  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีด้านการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์
     -  สามารถบูรณาการความรู้ด้านการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ กับความรู้สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง
     -  มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
     -  มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
     -  มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน
     -  ประเมินจากผลงานการปฎิบัติรายบุคคล
     -  ประเมินจากผลงานการปฎิบัติรายกลุ่ม
     -  ประเมินจากการสอบภาคทฤษฎี
     -  ประเมินจากการสอบภาคปฏิบัติ
     - มีทักษะในปฏิบัติงานการเขียนภาพประกอบจากการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษามา
     - มีทักษะในการนำความรู้ด้านการเขียนภาพประกอบมาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบ
     - มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน)  
     - สาธิต/ดูงาน  
     - ฝึกปฏิบัติ
     - ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานปฏิบัติ) 
     - ประเมินจากการสอบปฏิบัติ 
     - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
 
     - มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีงาม 
     - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     - สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
     - สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
     - มอบหมายงานบุคคล 
     - มอบหมายงานกลุ่มย่อย
     - นำเสนอข้อมูล
     - ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 
     - ประเมินจากผลงานกลุ่ม 
     - ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) 
     - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
     - สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
     - สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม 
     - สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
     - มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน) 
     - มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) 
     - สาธิต/ดูงาน
     - ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานปฏิบัติ)
     - ประเมินจากผลงานกลุ่ม
     - ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) 
     - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
     - มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
     - มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
     - ทำการปฏิบัติงานออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ในสถานการณ์จริง
     - ทำการปฏิบัติงานออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์แบบสร้างสรรค์ รูปแบบและแนวทางของตนเอง
     - ประเมินจากผลงานรายบุคคล 
     - ประเมินจากผลงานปฏิบัติกลุ่ม
     - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ทักษะการจัดการการ เรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAACD128 การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1),1(2),1(3)1(4) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา การแต่งกาย การแสดงพฤติกรรมที่ไม่ละเมิดสิทธิและดูแคลนผู้อื่น พฤติกรรมการเรียน การส่งงาน การติดตามงาน ตลอดภาค 10%
2 3(1),3(2) 5(3) งานปฏิบัติตลอดภาคการศึกษา โครงงานสรุป ตลอดภาค สป.16 40 % 20 %
3 2(1),2(2),2(3) 2(3),3(1),4(1),4(3),5(2) ,4(2) 5(1),5(3) สอบกลางภาค สอบปฏิบัติ สอบปลายภาค รายงานกลุ่ม และเดี่ยว กระบวนการทำงาน การนำเสนองานกลุ่ม งานเดี่ยว 9 16 17 5 10 5 % 0 % 15 % 5 % 5 %
การศึกษา การดูงานและประสบการณ์ตรงจากนักออกแบบเป็นสิ่งสำคัญต่อการศึกษาทั้งยังสามารถจุดประกายความคิดสร้างสรรค์และนำความรู้หรือประสบการณ์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นๆต่อไป
วารสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์  เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการประมวลรายวิชาการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์   และในรายวิชาที่ใกล้เคียง เช่น การออกแบบสัญลักษณ์ , การออกแบบสิ่งพิมพ์ , การออกแบบกราฟิก ประสบการณ์ตรงจากการเข้าร่วมฟังการบรรยายจาก นักออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์มืออาชีพทั้งในจังหวัดเชียงใหม่และจากบริษัทชั้นนำในกรุงเทพฯ
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้ 
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.2 การสอบถามนักศึกษาในชั้นเรียน 
1.3 การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น แบบแสดงความคิดเห็น E-mail
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.2 การมีส่วนร่วมของนักศึกษา 
2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา 
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ โดยการให้นักศึกษาประเมินตัวเอง
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการมีส่วนร่วมของนักศึกษาดังนี้ 
3.1 ดูผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษา
3.2 ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน ตามข้อเสนอ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และปลายภาคให้นักศึกษาประเมินตนเอง
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ