ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 6

Interior Architectural Design 6

1. ทราบกระบวนการในการออกแบบและพัฒนาแบบร่าง ในงานสถาปัตยกรรมภายใน
2. เข้าใจ ลักษณะทางจิตวิทยาพฤติกรรมในสภาพแวดล้อม และทฤษฎีต่างๆ และการบูรณาการองค์ความรู้ทางสถาปัตยกรรมภายใน
3. สามารถวิเคราะห์ปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆความเกี่ยวข้องเชิงพื้นที่ และ ตระหนักถึงศักยภาพการใช้สอยพื้นที่ภายในอาคาร
4. สามารถออกแบบสถาปัตยกรรมภายในขั้นสูง โดยเลือกโครงการออกแบบจากความสนใจส่วนบุคคล ตามกลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มอัตลักษณ์พื้นถิ่น และกลุ่มเทคโนโลยี
1. ทราบกระบวนการในการออกแบบและพัฒนาแบบร่าง ในงานสถาปัตยกรรมภายใน
2. เข้าใจ ลักษณะทางจิตวิทยาพฤติกรรมในสภาพแวดล้อม และทฤษฎีต่างๆ และการบูรณาการองค์ความรู้ทางสถาปัตยกรรมภายใน
3. สามารถวิเคราะห์ปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆความเกี่ยวข้องเชิงพื้นที่ และ ตระหนักถึงศักยภาพการใช้สอยพื้นที่ภายในอาคาร
4. สามารถออกแบบสถาปัตยกรรมภายในขั้นสูง โดยเลือกโครงการออกแบบจากความสนใจส่วนบุคคล ตามกลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มอัตลักษณ์พื้นถิ่น และกลุ่มเทคโนโลยี
1. ไม่มี เพราะเป็นการสอนปีแรก
ศึกษาและฝึกปฏิบัติทางสถาปัตยกรรมภายในขั้นสูง โดยเลือกโครงการออกแบบจากความสนใจส่วนบุคคล จากกลุ่มสตูดิโอย่อย (กลุ่มความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มอัตลักษณ์พื้นถิ่น และกลุ่มเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน) กระบวนการเรียนรู้เน้นหนักในการพัฒนาการออกแบบและความเกี่ยวข้องเชิงพื้นที่ ที่เกี่ยวกับลักษณะทางจิตวิทยาพฤติกรรมในสภาพแวดล้อม การตระหนักในศักยภาพการใช้พื้นที่ การวิเคราะห์ปัจจัยและทฤษฎีต่างๆ และการบูรณาการองค์ความรู้ทางสถาปัตยกรรมภายใน
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลตามความต้องการ 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม    มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ              

มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
1    สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2    สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา
1.2.3    สอนให้มี ระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
           1.3.1   ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมในรายวิชา     
           1.3.2   ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
      2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา   
      2.2.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา                         
      2.2.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 การบรรยาย  ยกตัวอย่างด้วยภาพงานตกแต่งภายในและภาพผลงานการออกแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2.2.2 การเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดย การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
2.2.3 ฝึกประสบการณ์หรือ ฝึกปฏิบัติงานออกแบบ
2.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการให้นักศึกษาปฏิบัติการจัดวางผัง และออกแบบพื้นที่ต่างๆของอาคารประเภทชุมชน
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ                                       
3.1.2 มีทักษะในการน าความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
  3.2.1  การบรรยาย ยกตัวอย่างด้วยภาพงานตกแต่งภายในและภาพผลงานการออกแบบ
  3.2.2 กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลมอบหมายให้สืบค้นข้อมูลและจัดทำรายงาน
  3.2.3   การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าหาองค์ประกอบและงานระบบที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ
  3.2.4   การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติการจัดวางผัง และออกแบบพื้นที่ต่างๆ
3.3.1   ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน ประเมินผลงานรายงาน และการนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน ดังนี้
           - รายงานการศึกษาองค์ประกอบและงานระบบที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ
           - การนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ออกแบบ
3.3.2   สังเกตจากกระบวนการทำงาน  และการแก้ปัญหาในการทำงานของนักศึกษา
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม
4.2.2 มอบหมายงานโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม  การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงาน การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ งานของผู้อื่น  
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินจากการติดต่อประสานงาน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไข ปัญหาอย่างเหมาะสม    
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
5.2.1 ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.2.2 มอบหมายงานทำรายงานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และการนำเสนอหน้าชั้นเรียนด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลในการนำเสนองาน
            5.3.2 การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการอธิบายการนำเสนองาน
            6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ                                                
            6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                       
            6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 ใช้วิธีการสอนด้วยการใช้กรณีศึกษาโครงงาน
           6.2.2 การสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
     6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARIA106 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 6
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม -มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม -พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา -ประเมินผลจากความรับผิดชอบในปฏิบัติงาน ภายในชั่วโมงเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ความรู้ - สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี Online - ประเมินจากการนำเสนอ รายงาน และ การนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน Online 9, 17 1, 11 30
3 ทักษะทางปัญญา - วัดผลจากการประเมินผลงานรายงาน และ การนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน ดังนี้ - รายงานการศึกษาองค์ประกอบและงานระบบที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ Online - การนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ออกแบบ - สังเกตจากกระบวนการทำงาน และการแก้ปัญหาในการทำงาน ของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 30
4 การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน Online -ประเมินจากผลงานกลุ่มในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูล -ประเมินจากการเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม -ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ Online ตลอดภาคการศึกษา 10
6 ด้านทักษะพิสัย ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 10
    - ทฤษฎี Mutualistic Understanding of Fill-in Architecture
- กลวิธีการออกแบบสถาปัตยกรรม ผศ.สมลักษณ์ อัศวเหม
- Design strategies in Architecture
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ