การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

Plant Tissue Culture

1.1   มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคขั้นพื้นฐานของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  ประโยชน์ของเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมห้องและเครื่องมือในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อาหาร  การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเริ่มต้นไปเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก ธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตร        1.2 นำความรู้และทักษะด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง        1.3 มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบวิชาชีพด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และอาชีพที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน        1.4 มีทักษะปฏิบัติด้านการเตรียมห้องและเครื่องมือในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อาหาร  การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเริ่มต้นไปเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก 1.1   มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคขั้นพื้นฐานของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  ประโยชน์ของเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมห้องและเครื่องมือในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อาหาร  การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเริ่มต้นไปเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก ธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตร        1.2 นำความรู้และทักษะด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง        1.3 มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบวิชาชีพด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และอาชีพที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน        1.4 มีทักษะปฏิบัติด้านการเตรียมห้องและเครื่องมือในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อาหาร  การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเริ่มต้นไปเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อฝึกทักษะด้านการวิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการนำเทคโนโลยีด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชมาใช้ในการผลิตพืชสวน เพื่อการค้าและการจัดจำหน่ายในรูปแบบต่างๆ  รวมถึงการเพิ่มพูนความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและนำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการผลิตและการจัดจำหน่าย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติถึงความสำคัญและประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเตรียมห้องปฏิบัติการ เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช การปรับสภาพและการย้ายปลูกต้นกล้า การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาการผลิตพืช การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก ธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตรเพื่อการค้า
 
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1. 1ทำการสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  โดย      - สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม      -กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ 2. การสอนแบบ  Problem Based Learning        - ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
   1. การเข้าเรียนตรงเวลา    2. การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด    3. ไม่ทุจริตในการสอบ    4. ความมีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
 
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)      - มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2. การสอนแบบบรรยาย 3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 4. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
1. การนำเสนองาน        - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ข้อสอบอัตนัย         - ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนแบบ  Problem Base Based Learning โดยให้ทำโครงงานพิเศษการขยายพันธุ์ พืชโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ  2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)    - ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง        - ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ 2. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกวิเคราะห์ปัญหาและฝึกตีความ 3. คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 4. การประเมินตนเอง
1.  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบ Brain  Storming Group 2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)    -มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้นักศึกษาเป็นผู้แบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
1. การสังเกต 2. การประเมินตนเอง 3. การประเมินโดยเพื่อน
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนแบบ  Problem Base Based Learning โดยให้ทำโครงงานพิเศษแล้วจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ โดยกำหนดให้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง 2. แนะนำและสาธิตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 3. การนำเสนองานด้วยวาจาและ PowerPoint
การนำเสนองาน       ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องของ         1. สื่อที่ใช้         2. เนื้อหาที่นำเสนอ           3. ภาษาที่ใช้                   4. การตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีคุณธรรมและจริยธรรม มีหลักคิดและแนวทางปฎิบัติทางส่งเสริมความดัและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม 2 มีจรรยาบรรณ มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพที่เรียนได้อย่างถ่องแท้และมีระบบ ทั้งหลักการ ทฤาฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกียวข้อง 2 มีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 1 สามารถคิดวิเคราะห์งานงานเป็นระบบ อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆอย่างสม่าเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 1 ภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความเห็นของผุ้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดปละประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผล และความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองด์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์มี่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเอง 2 ภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความเห็นของผุ้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดปละประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผล และความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองด์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์มี่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเอง 1 มีทักษะการสื่อสารในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พุด อ่าน และเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการพูด ฟัง อ่าน และเขียน 2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. ทักษะทางวิชาชีพ หมายถึงมีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ(พืชศาสตร์/สัตว์ศาสตร์/ประมง) สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมาพัฒนา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
1 BSCAG132 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 7 17 25% 25%
2 1.1 การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 4.2 และ 5.2 นำเสนอรายงาน 15 16 17 20%
4 2.1 และ 2.2 การทำบทปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 10%
ประศาสตร์ เกื้อมณี. 2538. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 158 หน้า  รังสฤษดิ์  กาวีต๊ะ. 2541. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : หลักการและเทคนิค. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ. 219 น.
รัชนี คุณานุวัฒน์ชัยเดช. 2546.  เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำปาง กระทรวงศึกษาธิการ, ลำปาง. 131 น. อภิชาติ ชิดบุรี.  2544.  เอกสารประกอบการการสอนรายวิชาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 130 น.
ประศาสตร์  เกื้อมณี. 2536. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ. 158 น.  ปิยะดา ตันตสวัสดิ์ และ อารีย์ วรัญญูวัฒก์. 2551. บทปฏิบัติการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. สำนักพิมพ์บริษัท เอเจนเทค จำกัด. กรุงเทพฯ. 109 หน้า ศิวพร จำรัสพันธุ์. 2546. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 187 หน้า.1. คำนูญ  กาญจนภูมิ. 2542. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 162 หน้า 2. คำนูญ  กาญจนภูมิ. 2545. เทคโนโลยีโพรโทพลาสต์ของพืช. สำนักพิมพ์แห่งจุฬา-  ลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 116 หน้า 3. ชลิต  พงศ์ภุสมิทธ์. 2532. เทคโนโลยีการผลิตเนื้อเยื่อพืช. คณะผลิตกรรมการเกษตร  สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้, เชียงใหม่. 146 หน้า 4. นพพร  สายัมพล. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 หน้า 5. บุญยืม  กิจวิธารณ์.  2540.  เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช.  ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 165  หน้า 6. ประศาสตร์  เกื้อมณี. 2536. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 158 หน้า. 7. ประสาทพร  สมิตะมาน. 2541. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ : เทคนิคและการประยุกต์ใช้. สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 141 หน้า. 8. ประสาทพร  สมิตะมาน. 2541. โปรโตพลาสต์เทคโนโลยี. สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 196 หน้า. 9. ไพบูลย์ กวินเลิศวัฒนา. 2524. หลักการและวิธีการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชา        พืชสวน    คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร. 109 น. 10. ภูวดล  บุตรรัตน์. 2532. โครงสร้างภายในของพืช. ไทยวัฒนาพานิช, กรุงเทพฯ.     55 หน้า. 11. รังสฤษฏ์  กาวีต๊ะ.  2540.  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : และเทคนิค.  ภาควิชา       พืชไร่นา     คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.  นครปฐม. 319 หน้า. 12. รังสฤษดิ์  กาวีต๊ะ. 2540. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : หลักการและเทคนิค. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 219 หน้า.     13. สมปอง เตชะโต. 2536. บทปฎิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก.                 ภาควิชพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา. 121 น. 14. สมปอง  เตชะโต. 2539. เทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก. ภาควิชาพืชศาสตร์       คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตหาดใหญ่, สงขลา. 285 หน้า. 15. สนธิชัย  จันทร์เปรม. 2531. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับงานปรับปรุงพันธุ์พืช.        หน้า  42 – 51. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการหลักสูตรเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขั้นพื้นฐาน. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูก     พืชทดลอง  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. 16. สิรนุช  สามศรีจันทร์.  2540.  การกลายพันธุ์ของพืช.  ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป.คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 17. อภิชาติ  ชิดบุรี. 2544. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้เพื่อการขยายพันธุ์. หน้า       D1-D13.  ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเบื้องต้น.  สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 18. อรดี  สหวัชรนทร์. 2531. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. หน้า 1 – 24. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการหลักสูตรเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ    พืชขั้นพื้นฐาน. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. 19. อรดี  สหวัชรินทร์. 2539. หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชาพืชสวน            คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 73 หน้า. 20. อรดี  สหวัชรินทร์.  2542.  เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช.  ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 21. อารีย์  วรัญญูวัฒก์.  2541.  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.  นครราชสีมา. 22. เอื้อพร  ไชยวรรณ. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพร เล่มที่ 1. ภาควิชาเภสัชเวท  คณะเภสัชศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 234 หน้า 23. Bornma, C.H. 1974.  Cytodifferentiation in tissue culture Department of botany And plant tissue culture research, University of Natal,    South Afriea. 337 pp.     24. Dixon, R.A. 1987. Plant cell culture a practical approach. IRL Press Limited. Oxford. 237 pp. 25. Gamborg O.L.1970. In:Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture :Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp. 26. Gamberg, O.L. and L.R. Wetter.  1975.  Plant tissue culture method.  Ottawa. Ontario, Canada. 267 pp. 27. Heller, R., S.S. Bhojwani and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture : Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp. 28. Murashige, T. 1974. Plant propagation through tissue culture.  Ann.Rev. Plant Physiol. 25 : 135 – 166. 29. Murashige T.and Skoog F.1962. In:Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture :Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp. 30 Murashige, T. and F.  Skoog, 1962. Arevised medium for rapid growth and bioassays With tobacco tissue cultures. Physiol Plant. 15 473-479. 31. Nagao, T. 1979. Somatic hybridization by fusion of protoplasts. II. The combination of Nicotiana tabacum and N.glutinosa of N. tabacum and N. alata. Jap.J.Crop Sci. 48 : 385 – 392. 32. Nitsch J. P.and C. Nitsch .1956. In: Street H.E. 1977. Plant Tissue and Cell Culture 1977. Blackwell Scientific Publications Oxford London England. 614 pp. 33. Pierik, R. L. M.. 1987. In vitro culture of higher plants.  Martinus Nijhoff Publishers, Dordrecht. 344 pp. 34. Reinert, J. and Y.P.S. Bajaj. 1977.  Plant Cell Tissue and Organ Culture. Springer -  Verlage, Berling. 803 pp. 35. Skoog, F. and C.O. Miller. 1957.  Chemical regulation of growth and crgan farmation In plant tissue cultured in vitro Sym. Soc. Exp. Biol.           11 : 118-131. 36. Szweykowska. A. 1974.  The role of cytokinins in the control of cell growth and differentiation In culture. In street, H.E. Tissue culture and plant science. London : Academic press. 502 pp.     37. Torrey, J.G. 1967.  Marphogemesis in relation to chromosomal constitution long-term plant  tissues. Physiol Plant 20 : 265-275. 38. White P.R.1963. In : Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue and Cell Culture. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland.      502 pp. 39. White, P.R. 1943.  Further evidence on the significance of glycine, pyridoxine and nicotinic Acid in the nutrition of excised tomato shoots. Amer.J.Bot 30 : 33-36.
Google: plant tissue culture, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
ระเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์  ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของ  รายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยอาจารย์ประจำหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป