ปฐพีวิทยาเบื้องต้น

Principles of Soil Science

ภาคบรรยาย
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการกำเนิดดิน
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพดิน
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเคมีดิน
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับชีวภาพของดิน
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับธาตุอาหารพืช สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อความเป็นประโยชน์
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการดิน การอนุรักษ์ดินและการปรับปรุงดิน
 
ภาคปฏิบัติ

เพื่อให้นักศึกษารู้จักเครื่องมือในห้องปฏิบัติการปฐพีวิทยา สามารถปฏิบัติการ เก็บตัวอย่างดินเพื่อการวิเคราะห์  วิเคราะห์เนื้อดินและโครงสร้างดิน   วิเคราะห์ความชื้นในดิน  วัดปฏิกิริยาดิน  ตรวจสอบธาตุอาหารในดินโดยวิธีวิเคราะห์ทางเคมีในห้องปฏิบัติการและวิธีวิเคราะห์แบบtest kit  วิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การผสมปุ๋ยเคมีได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับดิน สภาพแวดล้อม  การจัดการและ
   การอนุรักษ์ดินตลอดจนการปรับปรุงดิน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้
   ความเข้าใจ และทักษะปฏิบัติในด้านดิน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้
   ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการจัดการดินและ
   การปรับปรุงดินในสภาวะกาลปัจจุบัน
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การกำเนิดดิน สมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน ธาตุอาหารพืช สภาพแวดล้อมทางเคมีและกายภาพของดิน ที่มีต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย การจัดการและการอนุรักษ์ดิน การปรับปรุงดิน
      - จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันเวลาและสถานที่ให้นักศึกษาทราบ เป็นครั้งๆ ไป ตามความเหมาะสม
 
    จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์                   2 ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์            3 ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง                 5 ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา               - ชั่วโมง 
™1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
™1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-กระทำตนเป็นแบบอย่างในการมีวินัย ขยัน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
-ให้โอกาสนักศึกษาในการเสนอความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน
- ส่งเสริมการทำกิจกรรมกลุ่มที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
1. ขั้นตอนการปฏิบัติการ ที่ถูกต้อง ตามเวลาที่กำหนดให้
2. มีการเรียนสม่ำเสมอ ตรงเวลา
3. จัดเตรียม คืน และเก็บอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน ให้ตรงตามหมวดวัสดุ ให้เป็นระเบียบ
4. ทำความสะอาด คัดแยก กลบฝัง ทิ้งวัสดุ ของเสีย จากการทำงานให้ถูกต้องต่อสิ่งแวดล้อม
š2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
2.การสอนแบบการตั้งคำถาม
3.การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
1. การนำเสนองานอภิปรายเป็นกลุ่ม
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4. รายงานการปฏิบัติการ สรุปวิจารณ์ด้านความรู้ วิชาการ
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ การสอนแบบปฏิบัติ
1.ปฏิบัติการโดยใช้ ดินในพื้นที่ และนำข้อมูล มาประเมินลักษณะของดิน
2. การประเมินตนเอง
3. การประเมินโดยเพื่อน
4. การนำเสนองาน
5. ข้อสอบอัตนัย
6. ข้อสอบปรนัย
š4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
™4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 กิจกรรมกลุ่มสร้างความสัมพันธ์ต่อสังคมและกลุ่ม
1. การประเมินโดยอาจารย์และเพื่อน โดยสังเกตสื่อการกันในระว่างการทำงานกลุ่ม
2 มีการวางแผนร่วมกัน แบ่งกันทำงาน เพื่อเตรียมดิน วัสดุเพื่อปฏิบัติการ ดินและปุ๋ย
3. ร่วมกันสรุป เสนอแนวทางในการเลือกจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการผลิตพืช
4. รายงาน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ใช้  Power point การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการนำเสนองานโดยการบรรยาย
1.การนำเสนองานที่สามารถหาข้อมูลจากระบบสื่อสารทางไกล(อินเตอร์เน็ต) 2.ค้นหา ข้อมูลกลุ่มชุดดิน เพื่อการจัดการดิน การผลิตพืช และแก้ไขปรับปรุงสภาพดินอย่างเหมาะสมต่อพื้นที่
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG010 ปฐพีวิทยาเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 สังเกตพฤติกรรมการเรียน การเข้าเรียน ส่งงานตรงเวลา 6 4
2 2.1, 2.2 ทดสอบย่อย 3, 6, 10 และ 14 10
3 2.1, 2.2 ทดสอบกลางภาค 8 15
4 4.1, 5.2 การนำเสนอรายงาน การเข้าชั้นเรียน แบบฝึกหัด และการมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความ คิดเห็นในชั้นเรียนตลอดภาค การศึกษา 12 8
5 2.1, 2.2 ทดสอบปลายภาค 16 15
ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. 2548. คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10.
          กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมี.2552. พัชรี ธีรจินดาขจร. ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่  1. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ยงยุทธ โอสถสภา อรรถศิษฐ์ วงศ์มณีโรจน์ และชวลิต ฮงประยูร. 2551. ปุ๋ยเพื่อการเกษตรยั่งยืน.
         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 519 หน้า.
อำนาจ สุวรรณฤทธิ์. 2553. ปุ๋ยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
          พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ. 156 หน้า.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. การจัดการดินและพืชเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. การจัดการดินเปรี้ยวจัด. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. พืชตระกูลถั่วเพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.
คณะกรรมการจัดทำปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สรสิทธิ์ วัชโรทยาน. คู่มือปฏิบัติการวิชาปฐพีวิทยาเบื้องต้น. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8.
         กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2533 . 119 หน้า
เอิบ เขียวรื่นรมย์. 2542. การสำรวจดิน: มโนทัศน์ หลักการและเทคนิค.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อำนาจ สุวรรณฤทธิ์. 2551. ปุ๋ยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :   
         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Brady, Nyle C and Wel, Ray R. 2002. The Nature and Prepertics of Soils
         13 th.ed. New Jersey : Prentice Hall, 960 p.
Harpstead, M.I., Sauer, Th. J. and Benneth. 2001. Soil Science Simplified. Fourth edition.
          Ames: Iowa State University Press.W.F.
       การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     - การสะท้อนแนวคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้
     - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
       การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     - การสะท้อนแนวคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้
     - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- มีการสอนในเรื่องของการใช้โปรแกรมคำนวณปริมาณธาตุอาหารในดิน และการคำนวณปุ๋บโดยใช้โปรแกรมจากคอมพิวเตอร์
   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่ม  ตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
  - ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา
  - การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา
  - อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป