การออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม

Innovative Crafts Design

1.1 เพื่อให้รู้กระบวนการและแนวคิดในการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
1.2 เพื่อให้วิเคราะห์งานหัตถกรรมประเภทต่างๆ ด้านรูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย วัสดุ และกระบวนการผลิต
1.3 เพื่อให้วิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่องานออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
1.4 เพื่อให้สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรมได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของสังคม
1.5 เพื่อให้สร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมสู่ความยั่งยืน                                                             1.6 เพื่อให้เห็นคุณค่าของงานออกแบบหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
เพื่อใช้เป็นแนวทางการสอนในรายวิชาการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม ให้มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับบริบทสังคมปัจจุบัน
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการและแนวคิดในการออกแบบหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม การวิเคราะห์งานหัตถกรรมประเภทต่างๆ ด้านรูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย วัสดุ  และกระบวนการผลิต ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออกแบบงานหัตถกรรม และการสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมสู่ความยั่งยืน
          A study and practice the processes and concepts  of innovative craft design,analysis of various types of handicrafts, useful, forms, materials and  production processes ; including factors that affect the design of handicrafts as well as crafting to  sustainability.
1 ชั่วโมงโดยระบุ วัน เวลา ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน ผ่านระบบ Ms Teams
 
ข้อ 2.1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม
          ข้อ 2.1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
          ข้อ 2.1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 2.1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม มีวิธีการสอนคือ
          อธิบายและปลูกฝังให้นักศึกษาได้มีโอกาสช่วยเหลือผู้อื่น ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย มีระเบียบวินัย คุณธรรม และจริยธรรม โดยการสอดแทรกไว้ในชั่วโมงเรียน ผ่านระบบ Ms Teams
          ข้อ 2.1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวิธีการสอนคือ
          อธิบายและชี้ให้เห็นจรรยาบรรณของนักวิชาการและนักวิจัย ผ่านระบบ Ms Teams
ซึ่งมีสาระสำคัญคือการไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล เมื่อนำมาอ้างอิงในเอกสารของตนเอง
          ข้อ 2.1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีวิธีการสอนคือ
          อธิบายและชี้ให้เห็นคุณค่าของงานหัตถกรรมต่างๆ ของประเทศไทย รวมถึงการตระหนักถึงความสำคัญของผู้สร้างงานหัตถกรรมแต่ละประเภท ผ่านระบบ Ms Teams
ข้อ 2.1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม มีวิธีการประเมินผลคือ
          สังเกตพฤติกรรม และวาจา ของนักศึกษาที่ได้จากการมีส่วนช่วยเหลือผู้อื่นรูปแบบต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ผ่านระบบ Ms Teams
          ข้อ 2.1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวิธีการประเมินผลคือ
          ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ออกแบบ วิเคราะห์ งานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม ผ่านระบบ Ms Teams ที่มีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล
          ข้อ 2.1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีวิธีการประเมินผลคือ
          ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ออกแบบ วิเคราะห์  เชิงลึกถึงคุณค่าและความสำคัญของผู้สร้างงานหัตถกรรมของแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย ผ่านระบบ Ms Teams
ข้อ 2.2.1.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          ข้อ 2.2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงาน แก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
ข้อ 2.2.1.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีวิธีการสอนคือ
          อธิบายและมอบหมายงานออกแบบหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม พร้อมบอกวิธีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ผลงาน แล้วให้นำมาอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านระบบ Ms Teams
          ข้อ 2.2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงาน แก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีวิธีการสอนคือ
          1)  บรรยายเนื้อหาการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม แล้วเชื่อมโยงกับการบริการวิชาการแก่บุคคลต่างๆ เช่น นักศึกษาปริญญาตรี ผู้ประกอบการ ผ่านระบบออนไลน์ Ms Teams
          2)  บรรยายเนื้อหาการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นในหลักสูตร ผ่านระบบออนไลน์ Ms Teams
ข้อ 2.2.1.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีวิธีการประเมินผลคือ
          1) ข้อสอบกลางภาค และปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย แสดงความคิดเห็น
          2) วิธีการปฏิบัติงานตามกระบวนการอย่างถูกต้อง
          3) ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของผลงาน และการนำเสนอความคิด
          ข้อ 2.2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงาน แก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีวิธีการประเมินผลคือ
          1) ผลสรุปงานของนักศึกษาจากการที่ได้มีโอกาสได้ช่วยเหลือทางด้านวิชาการศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ แก่บุคคลต่างๆ
          2) ข้อสอบกลางภาค และปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวิเคราะห์เชิงบูรณาการ  แสดงความคิดเห็น
          3) การอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม ที่สามารถประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นได้อย่างเหมาะสม
 
 
ข้อ 2.3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
          ข้อ 2.3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ข้อ 2.3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีวิธีการสอน
ดังนี้คือ
        1) บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ต้องอาศัยการประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับงานหัตถกรรมกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้เกิดเป็นงานสร้างสรรค์อีกรูปแบบหนึ่ง
          2) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
          3) การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
          ข้อ 2.3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีวิธีการสอนคือ
          1) บรรยายหรือกระตุ้นการคิดหาเหตุผลอย่างมีระบบ แบบแผน เข้าใจที่มาของแนวคิด แรงบันดาลใจ และการปฏิบัติงานถูกต้องตามกระบวนการ
          2) บรรยายแล้วมอบหมายงานให้นักศึกษารวบรวม วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ด้านหัตกรรมเชิงนวัตกรรม
ข้อ 2.3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีวิธีการประเมินผล ดังนี้คือ
          1) ผลงานปฏิบัติออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม ที่ประยุกต์ใช้กับงานออกแบบรูปแบบต่างๆ
          2) ผลงานศึกษา อภิปรายเชิงประยุกต์และวิเคราะห์ ทางด้านหัตกรรมเชิงนวัตกรรม
          ข้อ 2.3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีวิธีการประเมินผลดังนี้ คือ
          1) ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จากงานที่เน้นความคิดสร้างสรรค์ ทางด้านหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
          2) สังเกตจากพฤติกรรมการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ในงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ
ข้อ 2.4.1.1  การมีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
          ข้อ 2.4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ 2.4.1.1  การมีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีวิธีการสอนโดย
          การบรรยาย หรืออภิปรายให้นักศึกษารู้ เข้าใจ และตระหนัก เกี่ยวกับการใช้ชีวิตและการอยู่ร่วมกันในคณะ / มหาวิทยาลัย
ข้อ 2.4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม มีวิธีการสอนโดย
การบรรยายหรืออภิปรายให้นักศึกษา เข้าใจบริบทภารกิจของมหาวิทยาลัยด้านการบริการวิชาการต่อสังคม ชุมชน
ข้อ 2.4.1.1  การมีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีวิธีการประเมินผลดังนี้คือ
          ผลงาน / กิจกรรม ที่นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในคณะ / มหาวิทยาลัย รวมถึงการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือฝ่ายต่างๆ
ข้อ 2.4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม มีวิธีการประเมินผลดังนี้คือ
               ผลงาน / กิจกรรม ที่นักศึกษาได้มีโอกาสนำความรู้ด้านออกแบบหัตกรรมเชิงนวัตกรรมไปช่วยเหลือชุมชน ท้องถิ่นต่างๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
ข้อ 2.5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม มีวิธีการสอนดังนี้คือ
          1) บรรยาย แนะนำ ประเด็นปัญหาแล้วมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
          2) ให้นักศึกษาอภิปรายร่วมกับอาจารย์โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ข้อ 2.5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม มีวิธีการสอนดังนี้คือ
          1) บรรยาย แนะนำ ประเด็นปัญหาแล้วมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
          2) ให้นักศึกษาอภิปรายร่วมกับอาจารย์โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ข้อ 2.5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม มีวิธีการประเมินผลดังนี้คือ
          1) ประเมินผลจากรายงาน และประเด็นปัญหาจากงานสร้างสรรค์หัตถกรรมเชิงนวัตกรรม พร้อมทั้งพิจารณาจากรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
          2) ประเมินผลจากการอภิปรายและวิธีการอภิปรายประเด็นปัญหาในงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
ไม่มี
ไม่มี  
 
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 MAAAC106 การออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1) การเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 ความรู้ 1) สอบกลางภาค 2) สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ 17 สัปดาห์ 9 ร้อยละ 10 สัปดาห์ 17 ร้อยละ 10
3 ทักษะทางปัญญา 1) ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จากประเด็นปัญหา สังเกตจากพฤติกรรมการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2) วิธีการปฏิบัติงานตามกระบวนการอย่างถูกต้อง ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของผลงาน และการนำเสนอความคิด ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 60
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ประเมินผลจากรายงานที่นำเสนอ และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 2) ประเมินผลจากคุณภาพของงานที่มอบหมาย 3) พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่มและการช่วยเหลือกัน/ การบริการวิชาการ ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 5
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ประเมินผลจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2) ประเมินผลจากมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 5
6 ทักษะพิสัย 1) ประเมินผลจากแนวคิดการออกแบบ 2) ประเมินผลจากผลงานการออกแบบ ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 45
การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย, (2540). “ช่างสิบหมู่”. กรุงเทพฯ:มปท.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, (2553). “การคิดเชิงสร้างสรรค์ Creative thinking”. กรุงเทพฯ : ซัคเซส        มีเดีย.
คมสัน สุริยะ และ คนอื่นๆ, (2551).“การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกในแนวล้านนาร่วมสมัย”.            รายงานการวิจัย สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.พิมพ์ครั้งที่ 1 เชียงใหม่ : โรง            พิมพ์ เอส ที ฟิมล์
             แอนด์เพลท.
โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย, (2542). “มรดกช่างศิลป์ไทย”. กรุงเทพ : องค์การค้าของ
            คุรุสภา, ๒๕๔๒. หน้า 45-93
ทบวงมหาวิทยาลัย,(2540). “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กับการทำนุบำรุง            ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ศึกษาเฉพาะงานศิลปหัตถกรรม”.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
            มหาวิทยาลัย.
“แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรม”. (ออนไลน์), สืบค้นจาก http://www.elfhs.ssru.ac.th/vilasinee_ji/file.
             php/1/Lesson_1.pdf
นวลน้อย  บุญวงษ์, (2542).“หลักการออกแบบ”.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
            มหาวิทยาลัย.
ปริวิทย์ ไวทยาชีวะ, (2551),“การศึกษากระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ของช่างพื้นเมือง            เชียงใหม่ ในการทำตุงล้านนาด้วยวิธีการฉลุลายกระดาษ”.วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์            มหาบัณฑิต                   
             จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
“ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน”.(ออนไลน์),สืบค้นจาก www.panyathai.or.th/wiki/index.php (วันที่            สืบค้น 12 กันยายน 2554)
ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์ , (2564). “ทฤษฎีด้านนวัตกรรม”.วารสารเซนต์จอห์น ปีที่ 23 (33) กรกฎาคม-ธันวาคม        
            2563. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 
2.1 เนื้อหาเกี่ยวกับรูปแบบหัตถกรรมทั้งในและต่างประเทศ
   2.2 การลงพื้นที่ชุมชนเพื่อศึกษารูปแบบหัตถกรรมท้องถิ่น
   2.3 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
3.1 เอกสารวิชาการ หนังสือ และเว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
    3.2 เว็ปไซด์ของสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (https://www.nia.or.th)
    3.3 เว็ปไซด์ของศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
          (https://www.sacict.or.th)
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 1.1    การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา   
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยการสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้