การทำหุ่นจำลอง

Model Making

ให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับชนิด ลักษณะ ของหุ่นจำลองชนิดต่าง ๆ ให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถในด้านเทคนิควิธี และวัสดุที่ใช้สร้างหุ่นจำลองชนิดต่าง ๆ ให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถปฏิบัติการสร้างหุ่นจำลองจากวัสดุต่าง ๆ เช่น ดินน้ำมัน ปูนปลาสเตอร์กระดาษ  ไม้  พลาสติก  โลหะ  ฯลฯ นักศึกษามีความสามารคิดค้นวิธีการตกแต่งรายละเอียด  และผิวหน้า (Surface)ให้ดูเหมือนจริงด้วยตนเอง

นักศึกษานำความรู้ความสามารจากการศึกษาเทคนิคการทำหุ่นจำลอง Model Making Technique นำไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้
-
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการทำหุ่นจำลอง วัสดุและกรรมวิธีการผลิต การตกแต่งผิว การเคลือบผิวและกราฟิกบนหุ่นจำลองในงานออกแบบอุตสาหกรรม
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับห้องทำงาน  ตารางสอนเวลาว่างในแต่ละสัปดาห์
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
        1) ตระหนักถึงจรรยาบรรณในฐานะนักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
        2) มีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด
        3) รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม
        4) มีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ผู้อาวุโส
        5) แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม ในสภาพแวดล้อมของการทำงานและในชุมชนที่กว้างขวางขึ้น
        1)ใช้การสอนแบบเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในโอกาสต่างๆ
        2) ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณนักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
        3) อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสําคัญต่อจรรยาบรรณ การมีวินัยเรื่องเวลาการเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา การเคารพและให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
     1) ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่หลักสูตร/คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส และอาจารย์
       2) การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
       3) ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา
       4) นักศึกษาประเมินตนเอง
           1)  มีความรู้ความสามารถในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติในวิชาชีพ
           2)  มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ และการประยุกต์ ตลอดถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปัจจุบันที่มีต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชาและต่อการปฏิบัติในวิชาชีพ
          3)  มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อสาขาวิชาชีพ รวมทั้งเหตุผลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
          1)  จัดการเรียนการสอนที่มีลักษณะยึดผู้เรียนเป็นสำคัญโดยจัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้เรียนเข้ากับความรู้และประสบการณ์ใหม่ในรายวิชาที่สอนได้อย่างกลมกลืน
           2)  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้อย่างแท้จริง
            1)  ประเมินด้วยการสอบย่อย  สอบกลางภาคการศึกษาและสอบปลายภาคการศึกษา
            2)  ประเมินจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของรายวิชาที่เรียนทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
            3)  ประเมินจากชิ้นงานที่ผู้เรียนสร้างสรรค์แล้วนำเสนอผู้สอนทั้งเป็นกลุ่มและรายบุคคล
         1)  ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและการปฏิบัติในการจัดการบริบทใหม่ที่ไม่คาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพ และพัฒนาแนวคิดริเริ่มและสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปัญหา
         2)  สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาทั้งในและนอกชั้นเรียน
         3)  สามารถนำผลของการสังเคราะห์ มาสร้างเป็นผลงานได้จริง
         4)  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง  และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
            1)  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยกระบวนการคิดเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์  ใคร่ครวญด้วยเหตุผล  และมีวิจารณญาณ เช่น อภิปรายกลุ่ม  ฝึกแก้ปัญหาเป็นกลุ่ม  เป็นต้น
            2)  จัดการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ตรง เช่น ฝึกปฏิบัติด้วยการออกแบบจากความต้องการของผู้ประกอบการจริง  นอกสถานที่ เพื่อฝึกสังเกต  สัมภาษณ์ พูดคุยกับผู้ประกอบการแล้วสรุปเป็นสาระความรู้  แนวคิด  รูปแบบ
              1) ประเมินจากงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ที่ตอบสนองต่อปัญหาและการนำเสนอในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
              2)  ความก้าวหน้าในงานที่ได้รับมอบหมาย
              3)  Sketch Design, Product Design,
             1)  พัฒนาทักษะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันและผู้อื่น
             2)  มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นอย่างเต็มที่ในการจัดการข้อโต้แย้งและปัญหาต่าง ๆ
             3)  พัฒนาทักษะการเรียนด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบ ในงานที่ได้รับมอบหมาย  ตรงต่อเวลา
             4)  แสดงออกทักษะการเป็นผู้นำได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม    
              1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงจากการทำงานเป็นคู่ หรือเป็นกลุ่ม เพื่อฝึกความรับผิดชอบ  ทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีมีทักษะการสร้างมนุษยสัมพันธ์ปรับตัวและยอมรับความแตกต่างของคนในสังคม
              2) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ช่วยกันเรียนรู้  
            1)  สังเกตการณ์ร่วมกิจกรรมกลุ่มของผู้เรียน
            2)  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน  ความรับผิดชอบของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย
            3) ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
            1)  พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารและการสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
            2)  สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์ และสถิติเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา สรุปปัญหา และเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์         
            3) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้งการฟัง  การพูด  การเขียน การอ่านและตีความ โดยจัดทำเป็นรายงาน   และนำเสนอในชั้นเรียนเป็นภาษาไทยและ/หรือภาษาอังกฤษ
           1)  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนดัวยการจัดประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้สถิติพื้นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์  พร้อมกับนำเสนอด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
           2)  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมและได้ข้อมูลที่ทันสมัย  ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
            1)  จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สะท้อนความรู้ความคิด  ความเข้าใจผ่านสื่อเทคโนโลยีแบบต่าง ๆ  
            2)  สังเกตพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีในระหว่างร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ในชั้นเรียน หรือขณะร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID114 การทำหุ่นจำลอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1) ประเมินจากพฤติกรรมของผู้เรียน เช่น การเข้าชั้นตรงเวลา ส่งงานตรงเวลาและครบถ้วน การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนอย่างผู้มีความรับผิดชอบ เป็นต้น 2) การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน3) ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา 4) นักศึกษาประเมินตนเอง 1 - 17 10%
2 ความรู้ 1) ประเมินด้วยการสอบย่อย สอบกลางภาคการศึกษาและสอบปลายภาคการศึกษา 2) ประเมินจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของรายวิชาที่เรียนทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน 3) ประเมินจากชิ้นงานที่ผู้เรียนสร้างสรรค์แล้วนำเสนอผู้สอนทั้งเป็นกลุ่มและรายบุคคล - การทดสอบย่อย - การสอบกลางภาคสัปดาห์ที่ 8 - การสอบปลายภาคสัปดาห์ที่ 17 60%
3 ด้านทักษะทางปัญญา 1) ประเมินจากงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ที่ตอบสนองต่อปัญหาและการนำเสนอในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม 2) ความก้าวหน้าในงานที่ได้รับมอบหมาย 3) Sketch Design, Product Design 1 - 17 10%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 1) สังเกตการณ์ร่วมกิจกรรมกลุ่มของผู้เรียน 2) ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ความรับผิดชอบของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 3) ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 1 - 17 10%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 1) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สะท้อนความรู้ความคิด ความเข้าใจผ่านสื่อเทคโนโลยีแบบต่าง ๆ 2) สังเกตพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีในระหว่างร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ในชั้นเรียน หรือขณะร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยฯ จัดขึ้น 1 - 17 10%
ชัยศักด์  เชื้อชาวนา.รวมเทคนิคการออกแบบบรรจุภัณฑ์.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ช.รุ่งเรืองอินเตอร์ปริ้นทร์, 2545
อุดมศักดิ์  สารีบุตร. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2549
สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพร. ผลของเทคโนโลยีที่มีต่อการออกแบบ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์, 2550
สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพร. การศึกษาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์, 
             2550
รัฐไท พรเจริญ. เส้นและแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.สมาคมส่งเสริม
             เทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), 2550
            ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาด้วยการประเมินการจัดการเรียนการสอนประจำภาคเรียน และการประเมินผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอนร่วม
  2.2   การประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
  2.3   การประเมินผลการเรียนและการปฏิบัติการของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
   3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
   3.2 การนำผลงานวิจัยและงานบริการวิชาการ  งานสร้างสรรค์ มาบูรณาการกับการเรียนการสอน
   3.3 การนำผลประเมินจาก มคอ.5 และ มคอ.7 มาปรับปรุงในการเรียนการสอน
   3.4 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลกาทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
   4.1  ตรวจสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการสอบถามนักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน
   4.2   กลุ่มอาจารย์ผู้สอน ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ ผลงานของนักศึกษา การให้คะแนนพฤติกรรมในการเรียนและการส่งงานของนักศึกษา
   4.3  อาจารย์ในสาขามีการประชุมหารือร่วมกันเพื่อทวนสอบการให้คะแนนของรายวิชา
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจาก
-ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
-การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน
            ภายหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป