ออกแบบสถาปัตยกรรมภายในล้านนา

Lanna Interior Design

เพื่อให้นักศึกษา ทราบถึง ปรัชญา ความคิดความเชื่อ ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม ประเพณี เข้าใจสถาปัตยกรรมภายนอก และภายใน ในบริบทล้านนา และสามารถ องค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในที่มีรูปแบบเฉพาะ ของล้านนาทั้งอาคารบ้านพักอาศัยและอาคารสาธารณะ
ศึกษาหลักการและฝึกปฏิบัติงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายในที่มีรูปแบบเฉพาะ ของล้านนา ปรัชญา ความคิดความเชื่อ ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และสถาปัตยกรรมภายใน ภายนอก  ในบริบทล้านนา เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน ทั้งอาคารบ้านพักอาศัยและอาคารสาธารณะ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพิจารณา
บรรยาย เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีลักษณะงานโครงสร้างสถาปัตยกรรมภายใน ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อที่กำหนดอย่างเคร่งครัด

2.กำหนดให้นักศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และปฏิบัติ ปรับใช้ให้เหมาะสม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการเขียนแบบตรงตามมาตรฐานงานสถาปัตยกรรมภายใน
1.3.3   มีการระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ได้มาตรฐาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอโครงการที่มอบหมาย
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของสาขา
วิชาชีพ
 2.1.2   มีความรอบรู้ในสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในที่เกี่ยวเนื่องและศาสตร์แขนงอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 มีความรู้ และความเข้าใจในศาสตร์ด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
2.1.4  มีองค์ความรู้ และความเข้าใจในทฤษฎี ศาสตร์ทางศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมล้านนา
      2.1.5 สามารถค้นคว้าหาข้อมูล และนำหลักการ ทฤษฏี และความรู้อื่นๆเข้ามาสร้างแนวทาง และ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม
บรรยาย  ฝึกปฏิบัติ  และมอบหมายให้ทำโครงการเกี่ยวกับการเขียนแบบ ขยายแบบครุภัณฑ์ในงานสถาปัตยกรรมภายใน ฝึกการเขียนแบบ และขยายแบบด้วยเครื่องมือเขียนแบบ
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี รวมทั้งการแก้ปัญหาทางสถาปัตยกรรมภายใน
2.3.2   ปฏิบัติงานเขียนแบบเครื่องเรือนตามหัวข้อที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง
2.3.3   ประเมินจากการนำเสนอโครงการงานออกแบบที่ได้รับมอบหมาย ปลายภาคเรียน
3.1.1 สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยง และทำความเข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยบูรณาการความรู้ในหลายๆด้าน และสังเคราะห์แนวคิด เพื่อออกแบบและหรือสร้างสรรค์ตามกระบวนการทำงาน
3.1.2 สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนหรือเสนอแนวทางในการแก้ไข ที่ผสานประโยชน์ใช้สอย ความงาม (ที่ว่าง  และรูปทรง)เทคโนโลยี บริบททางสังคมและวัฒนธรรม เข้าด้วยกัน
3.1.3 มีทักษะ สามารถในการรวบรวมองค์ความรู้  สามารถสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ในการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ในการพัฒนาต่อยอดการเรียนรู้ในวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
3.1.4 มีกระบวนการทางความคิดและการทำงานอย่างเป็นระบบ
3.2.1   บรรยายในหัวข้อ ที่เกี่ยวกับความผิดพลาดทางเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน
3.2.2   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการเลือกใช้ข้อมูลทางเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายในที่เหมาะสม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดระดับความรู้ ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้ข้อมูลทางโครงสร้างเครื่องเรือนและสถาปัตยกรรมภายใน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินผลงานรายสัปดาห์ และโครงการเขียนแบบปลายภาคเรียน
4.1.1 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพมีภาวการณ์เป็นผู้นำ หรือผู้ตามที่ดี รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่นสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบสามารถลำดับความสำคัญและแก้ไขข้อขัดแย้งโดยใช้หลักธรรมาภิบาล
4.1.2 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพสามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสมมีความสามารถในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและองค์กรได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
4.1.3 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการปฏิบัติงาน
4.2.2   มอบหมายงาน รายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอโครงการ
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน
4.3.2  ประเมินจากงานรายบุคคล  ตามที่กำหนด
4.3.3   ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
5.1.1 มีทักษะทางการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูด การเขียน และการใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
5.1.2 สามารถนำการวิเคราะห์เชิงตัวเลขมาแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม
          การวัดมาตรฐานนี้อาจทำได้ในระหว่างการสอนโดยอาจให้นักศึกษาแก้ปัญหาวิเคราะห์ประสิทธิภาพของวิธีแก้ปัญหาและให้นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหาผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพต่อนักศึกษาในชั้นเรียนอาจมีการวิจารณ์ในเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์และกลุ่มนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 2
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 4
1 BARIA509 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายในล้านนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม - การเข้าชั้นเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานตามกำหนด - การมีวินัยในการร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - วิธีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน - วิธีการสรุปและนำเสนอรายงาน 8 8และ18 ตลอดภาคกลางศึกษา 30% 50%
3 ทักษะทางปัญญา - การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ - การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน 9,10,11, 12,13,14 10%
- INTERIOR DESIGN  ILLUSTRATED
Francis D.K. Ching , Van nostrand reinhold : New york.