ประวัติและแบบอย่างศิลปะตะวันตก

History and Style of Western Art

 ๑. เข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา  ความหมาย  แนวคิดของความเชื่อ   สุนทรียภาพ
 สถาปัตยกรรม  จิตรกรรม  ประติมากรรม ของศิลปะยุคก่อนประวัติศาสตร์  จนถึง
ศิลปะสมัยใหม่       
๒. ศึกษา รูปแบบ  เรื่องราว  เนื้อหาของสถาปัตยกรรม  จิตรกรรม  ประติมากรรมของศิลปะ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงศิลปะสมัยใหม่
๓. เข้าใจความต่อเนื่อง   การคลี่คลายลักษณะสถาปัตยกรรม  จิตรกรรม  ประติมากรรม ในประวัติศาสตร์ยุคโบราณ จนถึงสมัยใหม่
๔. ตระหนักในคุณค่าสุนทรียศาสตร์ ของการสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรม  จิตรกรรม  และประติมากรรม
วิชานี้มีวัตถุประสงค์ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของศิลปะตะวันตกตั้งแต่ยุคโบราณ , ยุคต่อๆมา จนถึงยุคสมัยใหม่   รวมทั้งศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะของงานศิลปะสาขาต่างๆในแต่ละยุคสมัยดังกล่าวนั้น  อันจะเป็นแนวทางสำหรับการสร้างสรรค์งานศิลปะ หรือเป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาอื่นๆในระดับสูงต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของศิลปะตะวันตก ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงศตวรรษที่ 19 ด้วยการเรียนรู้  รูปแบบ  เนื้อหา  วิธีการในการสร้างสรรค์ศิลปะตะวันตก
Study of the history of western art form prehistory to the 19th century is examined through its forms, content, and method in creating artworks.
          ๒ ชั่วโมง / สัปดาห์
ข้อ 1  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ข้อ 2  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ข้อ 3  มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
กำหนดให้มีการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา  ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
 ข้อ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
 ข้อ 2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
 ข้อ 3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
 ข้อ 4  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา  

   
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี  มีความรู้ความเข้าใจ ในประวัติความเป็นมาและรูปแบบของงานศิลปะในยุคสมัยต่างๆได้อย่างถูกต้อง   เข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์ในแต่ละยุคสมัย  หรือในแต่ละสาขาของงานศิลปะเหล่านั้น ตลอดจนถึงจุดมุ่งหมาย  เนื้อหาในการสร้างสรรค์
- บรรยายประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ ให้เห็นถึงรูปแบบ ลักษณะและประวัติความเป็นมาในแต่ละยุคสมัย
- บรรยายประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ  ให้เห็นถึงความคล้ายคลึงกัน หรือความแตกต่างกันในรูปแบบ ลักษณะ  วิธีการสร้างสรรค์ของงานศิลปะแต่ละยุคสมัย  แต่ละดินแดน
- บรรยายให้เห็นถึงอิทธิพลการสร้างสรรค์ที่ถ่ายโยง ต่อกันของยุคสมัยต่างๆ  หรือดินแดนต่างๆ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ คือ
(1) การทดสอบย่อย เช่นการสอบปากเปล่า Pre-Test
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากความรู้ความเข้าใจ จากการแสดงความคิดเห็น หรืองานศึกษาค้นคว้าจากการรายงานเป็นรูปเล่ม
ข้อ 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
ข้อ 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้(ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
ข้อ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
 

 
ใช้กรณีศึกษา  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน เน้นการฝึกให้นักศึกษาตั้งข้อสังเกต ฝึกการตั้งคำถาม ฝึกการคิดจากข้อมูลการศึกษาในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน โดยจัดกิจกรรมการสอนที่ให้นักศึกษามีส่วนร่วมได้ใช้ความคิดเห็นร่วมกัน สอดแทรกตัวอย่างที่เกิดจากการใช้ทักษะทางปัญญา เช่น การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง
สังเกตพัฒนาการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ความสนใจความตั้งใจในการแสวงหาความรู้ สังเกตวิธีคิดในการตั้งคำถาม หาคำตอบและแนวทางแก้ไขปัญหา พิจารณาพัฒนาการการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ที่สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ข้อ 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น   การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆภายในชั้นเรียน
ข้อ 1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ    ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล  โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล   การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร 
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข  การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม   ประเมินจากการอธิบาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
1 BFAVA103 ประวัติและแบบอย่างศิลปะตะวันตก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม - การเข้าชั้นเรียน ขาด ลา มาสาย - การถาม-ตอบในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 ความรู้ - การศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียน - การสอบกลางภาคและปลายภาค 9 และ 18 40%
3 ปัญญา - การทำแบบทดสอบประจำบทเรียน - การสอบปากเปล่าในชั้นเรียน - การสังเกต การทำงานในชั้นเรียน 1-8, 10-17 40%
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - การจับกลุ่มศึกษานอกเวลาเรียน - การจับคู่การทำแบบทดสอบในชั้นเรียน 1-8, 10-17 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - การใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการค้นคว้าทำรายงาน - การใช้เทคโนโลยีเพื่อการสอบและการเรียนในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
วนิดา ขำเขียว. ประวัติศาสตร์ศิลป์. กรุงเทพ : พรานนกการพิมพ์, 2543
สงวน รอดบุญ. ลัทธิและสกุลช่างศิลปะตะวันตก. กรุงเทพ : โอเดียนสโตร์ , 2533
กําจร สุนพงษ์ศรี. ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก. สํานักพิมพ์คาร์เดียเพรสบุค, 2524.
พิริยะ ไกรฤกษ์. ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยฉบับคู่มือนักศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊ฟจำกัด,
อภัย นาคคง. ความรู้เบื้องต้น วิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ. กรุงเทพฯ : ท. วัฒนาการพิมพ์, 2526
ศิลปะแอ็พโพรพริเอชั่น = Appropriation art / รสลิน กาสต์, กรุงเทพฯ : เดอะเกรทไฟน์อาร์ท, 2554
แรงบันดาลใจจากผลงานศิลปะในประวัติศาสตร์ศิลปะในประวัติศาสตร์ศิลปะ ตะวันตก ที่มีต่อการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในปัจจุบัน = The Inspiration from artworks in Western art history's influence upon the creation of artworks in the present day / รสลิน กาสต์, เชียงใหม่ : คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551
หนังสือภาษาอังกฤษ
Art History: Second Edition Volume oneand two / editors, Marilyn Stoktad, 2001
Art and complexity [electronic resource / editors, John Casti, Anders Karlqvist, Amsterdam Boston : Elsevier, 2003.
The Art and craft of montage / Simon Larbalestier, London : Mitchell Beazley, 1993
Art and electronic media / edited by Edward A. Shanken, London : Phaidon Press, 2009
WACK! : art and the feminist revolution / organized by Cornelia Butler ; essays by Cornelia Butler ... [et al.] ; edited by Lisa Gabrielle Mark, Los Angeles : Museum of Contemporary Art ; Cambridge, Mass. : MIT Press, c2007
                             Art and illusion / E. H. Gombrich, London : Phaidon, 1959.
          Art and representation electronic resource : contributions to contemporary aesthetics / edited by Ananta Ch. Sukla, Westport, Conn. : Praeger, 2001.
                             Paul Klee / by Ernest Raboff, New York : Doubleday & Co., 1982
          A Basic history of western art / H.W. Janson & Anthony F.Janson, in collaboration with Frima Fox Hofrichter, Joseph Jacobs, Andrew Stewart, Upper Saddle River, N.J. : Pearson Education, c2006
          แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้งในห้องสมุดและสถานที่จริง
                   -  หอศิลปวัฒนธรรม ต่างๆในประเทศไทย
                   -  วัดต่างๆที่สำคัญต่อประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
                   - แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย
                   - โรงงานอุตสาหกรรมทางด้านศิลปะที่มีชื่อเสียง
                   - แกลลอรี่                           - บ้านศิลปินแห่งชาติ               - พิพิธภัณฑ์
วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ
          - Art 4D
          - Fine Arts
          - Aesthetica - The Art and Culture Magazine
- ART PAPERS, based in Atlanta, US
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ
          http://www.deviantart.com/
http://www.art.net/
www.artinfo.com
http://www.artbabble.org/
http://www.artcyclopedia.com/
http://www.artdaily.org/
http://www.theartsmap.com/
http://www.blackbird.vcu.edu/
http://designobserver.com/
http://www.interartcenter.net/
๑.๑ สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อจบเนื้อหานั้น
๑.๒ นักศึกษาประเมินการสอนจากแบบสอบถามของเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑.๓ ประเมินการสอนโดยผู้บริหารของภาคหรือสาขาวิชา
๒.๑ การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
๒.๒ ผลการเรียนของนักศึกษา
๒.๓ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
๒.๔ ผลการค้นคว้าจากรายงานของนักศึกษา
๒.๕ เชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเข้าร่วมในการเรียนการสอน
๒.๖ ผลการประเมินจากการให้มีการบริการวิชาการเผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชนที่นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
๓.๑ การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
๓.๒ การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
๔.๑ กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐาน
      ผลการเรียนรู้ของรายวิชา
๔.๒ ทวนสอบจากคะแนนการปฏิบัติ หรืองานที่มอบหมาย
      จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
๔.๓ ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
          ๕.๑ ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
          ๕.๒ สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย
          ๕.๓ นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น    คะแนนสอบของนักศึกษา   การประชุมสัมมนานำมา            สรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป