วัสดุและวิธีใช้

Materials and Usage

เพื่อให้นักศึกษา  ศึกษาประเภท   คุณสมบัติ  และวัตถุประสงค์ของการใช้งานของวัสดุ  สามารถเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมตามประเภทของการใช้งานของอาคาร การเลือกใช้วัสดุในส่วนต่าง ๆ ตามหลักการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 
-
ศึกษาประเภท   ลักษณะและคุณสมบัติของวัสดุ  การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมตามหลัก และเทคนิคการติดตั้ง ทางสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม  และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าต่อโครงการที่ทำการศึกษา
บรรยายพร้อมการใช้วัสดุเพื่องานออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน วิเคราะห์การใช้วัสดุที่เหมาะสม คำนึงถึง สี ราคา สภาพแวดล้อม

1.2.2 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์  วิธีการเลือกวัสดุตามแนวความคิด ผู้สอนกำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามตัวอย่างที่กำหนด
บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์  การทดลองจัดวัสดุในห้องต่างๆ ตามเนื้อหาการบรรยาย
1.1.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีการสอบวัดประเมินผล
 2.1.1  นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการของวัสดุ
 2.1.2   ศึกษาวิธีใช้งานความเหมาะสมของการใช้วัสดุแต่ละประเภท
นักศึกษาจัดทำรายงาน  นำเสนอหน้าชั้นเรียน อาจารย์ผู้สอน  นำเสนอส่วนที่นักศึกษาขาดตกบกพร่อง

2.2.3 กำหนดให้นักศึกษาจัดกลุ่มนำเสนอแนวทางการใช้วัสดุ  อธิปรายและซักถาม
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน
2.3.3 วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ และประยุกต์ การคำนวณในลักษณะงานแบบอื่นๆ
3.2.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์วิธีการคำนวณ และเปรียบเทียบ
กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง
3.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.3.2  วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม 
        กำหนดเวลา
4.1.3 การนำเสนอผลงาน
บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์วัสดุแต่ลพประเภท

4.2.2 นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน
กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง
4.3.1 ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย
4.3.2  ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
4.3.3ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.4  การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง
5.1.1 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์การถ่ายทอดแนวความคิดผ่านวัสดุ
ทักษะในการประยุกต์ ใช้ขนาดที่เหมาะสมกับขนาดห้อง
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือค้นคว้าที่เหมาะสม สามารถสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์  และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3.1  ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย
5.3.2  ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
5.3.3  ประเมินผลงาน   การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง
5.3.4  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
สามารถปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมอย่างบูรณาการ  เป็นองค์รวมโดยประยุกต์ใช้ศาสตร์และศิลปะสถาปัตยกรรม รวมทั้งใช้กระบวนการวิชาชีพสถาปัตยกรรม  และการนำเสนอผลงาน สามารถปฏิบัติการออกแบบวัสดุ ตามแนวคิด การใช้งาน และราคาที่สอดคล้องกับโครงการ
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BARIA306 วัสดุและวิธีใช้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - ความเคารพของนักศึกษาที่มีต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน และต่ออาจารย์ผู้สอน 10%
2 ความรู้ - การสอบกลางภาคเรียน - การสอบปลายภาคเรียน 50%
3 ทักษะทางปัญญา - การเอาใจใส่ต่อการเรียน 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - การเข้าชั้นเรียนตามเวลาที่กำหนด - ความสามารถในการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - การเลือกใช้ระบบและอุปกรณีประกอบอาคารได้อย่างเหมาะสม 10%
- วัสดุและการก่อสร้างอาคาร Building Materials and Construction สุภาวดี บุญยฉัตร
- ก่อสร้างอาคาร Building Construction Illustrated FRANCIS D.K.CHIANG & CASSANDRA ADAMS
  เรียบเรียงโดย กิตติพงศ์ พลจันทร์ และ ทัต สัจจะวาที

ARAHITECYURAL GRAFPIC STANDARD
-
-
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือด้านสถาปัตยกรรม,สถาปัตยกรรมภายใน