การทำแบบตัดบนหุ่น

Draping

1.1  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างแบบตัดบนหุ่นยืน กระโปรง  กางเกง สูทปกและแขนเสื้อ  รูปแบบต่างๆ 1.2  ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการออกแบบและกระบวนการผลิตแบบตัดบนหุ่นยืน 1.3  มีทักษะในการนำเสนอผลงานการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกายแฟชั่น และ นำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบเครื่องแต่งกาย
        เพื่อให้นักศึกษาศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานการออกแบบตกแต่งเครื่องแต่งกาย และการสร้างแบบเสื้อผ้าบนตัวหุ่น เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะการออกแบบ ในรายวิชาอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง  อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานสากล
 ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างแบบตัดบนหุ่นยืน เสื้อ กระโปรง กางเกง สูท ปกและแขนเสื้อ รูปแบบต่างๆ และนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบเครื่องแต่งกาย
Practice creating a cut skirt, trousers, suit, cover and sleeve in various form on standing in order to apply for fashion design.
  -    อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน     -    อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง / สัปดาห์
1.1.1   มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1   สอนให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะให้มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ  และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติเปิดกว้างยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.2.2   สาธิตและยกตัวอย่างเกี่ยวกับ การทำแบบตัดบนหุ่น  ในรายวิชา  1.2.3    มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่ม
1.3.1    การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม 1.3.2    สังเกตการมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการเรียนการทำงานกลุ่มและรายบุคคล 
2.1.1 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.2.1 สาธิตและอภิปราย โดยผู้สอนใช้สื่อที่หลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ทางการทำแบบตัดบนหุ่น 2.2.2  ให้นักศึกษาค้นคว้าแก้ปัญหาและพัฒนาผลงานการทำแบบตัดบนหุ่นรูปแบบเสื้อผ้า  โดยนำหลักการทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบ 2.2.3  มอบหมายงานศึกษาและปฏิบัติค้นคว้ารายบุคคลและรายกลุ่ม
2.3.1  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน   2.3.2  ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2.3.3 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติและการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ               3.1.2  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์      3.1.3   มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1   ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลตำรา เอกสารและสื่อสังคมกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21  3.2.2   มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์การทำแบบตัดบนหุ่น และสรุปผล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวและกลุ่ม การร่วมแสดงความคิดเห็น 3.2.3  มอบหมายให้ทำแบบตัดบนหุ่นอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานทำแบบตัดบนหุ่น  การปฏิบัติงานการคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา ในการสร้างผลงานและการนำเสนอผลงาน
 4.1.2  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการนำความรู้การทำแบบตัดบนหุ่น การทำงานแต่ละขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดี อย่างมีประสิทธิภาพ 4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากการร่วมจัดกิจกรรมกลุ่ม และการรายงานผลของการจัดกิจกรรม 4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ
5.1.1  สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้เทคนิคและประยุกต์การทำแบบตัดบนหุ่นจากการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน 5.2.2   ให้นำเสนอผลงานและสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
5.3.1 ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า 5.3.2 ประเมินจากอธิบาย  การนำเสนอ และแก้ปัญหาด้านข้อมูลที่เหมาะสม
6.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1  สาธิตการปฏิบัติการทำแบบตัดบนหุ่น  ตามขั้นตอนจากแบบและใบงานปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง    6.2.2  ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.3.1  ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย 6.3.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ135 การทำแบบตัดบนหุ่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3.1.1,3.1.2 5.1.1, 6.1.1 การปฏิบัติงานผลงานการออกแบบและการทำแบบตัดบนหุ่น คิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา ในการสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ และการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน การสืบค้นและคิดวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1.1, 4.2.1,4.2.2 การเข้าชั้นเรียนและพฤติกรรมการเรียน มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กัญญุมา  ญาณวิโรจน์  .2554  การทำแบบตัดบนหุ่น.  กรุงเทพ: ทริปเพิ้ล เก็ดดูเคชั่น 
2.  จิตรพี ชวาลาวัณย์ .2554. การทำแบบเสื้อผ้าบนหุ่น .กรุงเทพฯ : โอเดียร์สโตร์
 3.  หลักสูตรการสอนจากโรงเรียนสอนตัดเสื้อเอื้องดอยดีไซน์ 4. หนังสือการทำแบบเสื้อผ้าบนหุ่น รองศาสตราจารย์ จิตรรพี ชวาลาวัณย์ 5. เอกสารประกอบการสอนจากสื่อ Electronic ต่างๆ หนังสือภาษาต่างประเทศ 1. Female Japan
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำผลงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
 ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา 2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้      3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด      3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 การประชุมกรรมการประจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา