วัสดุและเทคโนโลยีการก่อสร้าง 1

Materials and Construction Technology 1

มีความเข้าใจคุณสมบัติของไม้ มีความเข้าใจองค์ประกอบและรายละเอียดของอาคารโครงสร้างไม้ มีความเข้าใจวิธีการก่อสร้าง งานระบบไฟฟ้า งานระบบประปาและสุขาภิบาลในอาคารโครงสร้างไม้ มีทักษะในการเขียนแบบก่อสร้างอาคารโครงสร้างไม้ ตระหนักในความสำคัญของการเขียนแบบสถาปัตยกรรม มีความความรับผิดชอบต่อวิชาชีพสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง
นำข้อมูลการประเมินผลการสอนโดยผู้เรียน มาพัฒนาปรับปรุงเนื้อหาการเรียนการสอนและ เพื่อปรับความรู้ให้ทันสมัยและฝึกปฏิบัติการและเพิ่มทักษะพื้นฐานการเขียนแบบบ้านโครงสร้างไม้ของนักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ กรรมวิธีการก่อสร้าง องค์ประกอบและรายละเอียดของอาคารโครงสร้างไม้ งานผนังและโคร่งเคร่าไม้ งานประตูหน้าต่างไม้ บันไดไม้ โครงหลังคาไม้และวัสดุมุงหลังคาที่เหมาะสม การออกแบบรอยต่อไม้ การปรับแต่งผิวและการถนอมบำรุงรักษาเนื้อไม้ ระบบไฟฟ้า ระบบประปาและระบบสุขาภิบาลสำหรับอาคารโครงสร้างไม้ และฝึกปฏิบัติการเขียนแบบก่อสร้างอาคารโครงสร้างไม้
ศึกษาวัสดุ อุปกรณ์ กรรมวิธีการก่อสร้าง องค์ประกอบและรายละเอียดของอาคารโครงสร้างไม้ งานผนังและโคร่งเคร่าไม้ งานประตูหน้าต่างไม้ บันไดไม้ โครงหลังคาไม้และวัสดุมุงหลังคาที่เหมาะสม การออกแบบรอยต่อไม้ การปรับแต่งผิวและการถนอมบำรุงรักษาเนื้อไม้ ระบบไฟฟ้า ระบบประปาและระบบสุขาภิบาลสำหรับอาคารโครงสร้างไม้ ฝึกปฏิบัติการเขียนแบบก่อสร้างอาคารโครงสร้างไม้
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนทุกครั้ง ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน แสดงความคิดเห็นเรื่องการสำนึกต่อหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา การมีระเบียบแต่งกาย และการเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น มอบหมายงานให้รับผิดชอบและส่งตรงตามเวลา
ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย ตลอดจนการร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย ของคณะ และกิจกรรมนักศึกษา ประเมินจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและส่งตรงตามเวลา การแต่งการเรียบร้อยเหมาะสมกับนักศึกษา
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การจัดการเรียนการสอนหลายรูปแบบ โดยใช้หลักการทางทฤษฏีและฝึกปฏิบัติให้เกิดความชำนาญในการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อการสอนและประกอบการบรรยายสื่อผสมโดยอาจารย์ประจำวิชา
ประเมินจากการทดสอบย่อย ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค ประเมินการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทำทุกสัปดาห์
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การบรรยายประกอบสื่อผสม ใช้กรณีศึกษาจากของจริง สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลในการปฏิบัติงานเขียนแบบ การมอบหมายงานให้ทดลองปฏิบัติในห้องเรียนเพื่อช่วยให้เกิดการพัฒนาทักษะการปฏิบัติการร่วมกันระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา และอาจารย์กับนักศึกษา การนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อการสอนและประกอบการบรรยายเพื่อให้เกิดความเข้าในการปฏิบัติได้ดียิ่งขึ้น
ประเมินจากการทดสอบย่อย ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค ประเมินการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทำทุกสัปดาห์
การมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การมีความสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายงานหรือกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำผู้ตามให้มีความรับผิดชอบร่วมกันในระดับกลุ่มย่อยหรือทั้งห้อง การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์เพื่อถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกันตลอดจนการเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานตามบทบาทของแต่ละคนภายในห้องเรียน ประเมินพฤติกรรมนิสัยที่แสดงออกในวิธีการทำงานร่วมกันเป็นทีมจากนักศึกษาด้วยกันเอง
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับเนื้อหาข้อมูลและสภาพของผู้สื่อสาร บรรยาย ให้คำแนะนำ และอภิปรายขั้นตอนการปฏิบัติงานต่างๆโดยใช้ภาษาและรูปแบบเทคโนโลยีสาระสนเทศที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข ความสามารถในการอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานต่างๆ จากการใช้ภาษาและเทคโนโลยีสาระสนเทศที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตัวเอง
ฝึกปฏิบัติการด้วยวิธีคัดลอกแบบ เขียนแบบตามสถานการณ์เสมือนจริง โดยทำตามใบงาน อภิปรายขั้นตอนการปฏิบัติได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษาะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 จิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1 มีความรู้และความเข้า ใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BARAT301 วัสดุและเทคโนโลยีการก่อสร้าง 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1) ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย ตลอดจนการร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย ของคณะ และกิจกรรมนักศึกษา 2) ประเมินจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและส่งตรงตามเวลา การแต่งการเรียบร้อยเหมาะสมกับนักศึกษา ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ความรู้ 1) ประเมินจากการทดสอบย่อย 2) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 3) ประเมินการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทำทุกสัปดาห์ ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 26 %
3 ทักษะทางปัญญา 1) ประเมินจากการทดสอบย่อย 2) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 3) ประเมินการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทำทุกสัปดาห์ ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 20 %
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานตามบทบาทของแต่ละคนภายในห้องเรียน 2) ประเมินพฤติกรรมนิสัยที่แสดงออกในวิธีการทำงานร่วมกันเป็นทีมจากนักศึกษาด้วยกันเอง ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 14 %
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศ 1 ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข ความสามารถในการอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานต่างๆ จากการใช้ภาษาและเทคโนโลยีสาระสนเทศที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 14 %
6 ทักษะพิสัย 1 ประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานจริง ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 16 %
7
สุรศักดิ์  พูลชัยนาวาสกุลง, พงษ์ธร  จรัญญากรณ์. เขียนแบบเทคนิค พื้นฐานช่างอุตสาหกรรมทุกสาขา. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), 2521 ธัญญลักษณ์  ก้องสมุท. เขียนแบบเทคนิค 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2535 ศาสตราจารย์เฉลิม   รัตนทัศนีย. การเขียนแบบสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 สุขสม  เสนานาญ. เขียนแบบก่อสร้าง. กรุงเทพฯ : บริษัท ประชาชนจำกัด, 2540 ธีระชัย  เจ้าสกุล. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2546 สมชาย  สระบัว. ช่างไม้ก่อสร้าง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย. 2525 อินทิรา ศตสุข. เขียนแบบช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม(ฉบับปรับปรุง) . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2539
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับวัสดุในท้องตลาด เช่น Wikipedia , Google
- สอบถามความเห็นจากนักศึกษาในสัปดาห์สุดท้าย
- แบบประเมินผลให้นักศึกษาเขียนแสดงความคิดเห็นต่อการสอนในสัปดาห์สุดท้าย
จัดประชุมทีมอาจารย์ประจำวิชาร่วมกับอาจารย์ประจำหลักสูตร ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน
ใช้ผลประเมินโดยนักศึกษา และการประเมินโดยทีมผู้สอน เป็นเครื่องมือปรับปรุงการสอนเป็นประจำทุกปีการศึกษา
- มีคณะกรรมการวิชาการ ประจำสาขาวิชา
- มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบและผลสอบ
- แจ้งผลการประเมินผลการสอบ การรายงาน การนำเสนอและคะแนนให้นักศึกษาทราบ
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนา และ มคอ.5 มาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป