สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

Environment and Development

1.  เข้าใจความรู้พื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
          2.  เข้าใจหลักนิเวศวิทยา
          3.  เข้าใจการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร มลพิษสิ่งแวดล้อม
          4.  เข้าใจคุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
          5.  เข้าใจปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
          6.  เข้าใจจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของแต่ละสาขาวิชา
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม  คุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม  ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
3ชั่วโมงต่อสัปดาหฺ์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
1.2.2 จัดทำโครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และนำเสนอ
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม  คุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม  ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน จริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2. ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 GEBSC106 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.3, 5.3 การนำเสนอหัวข้อและการสอบย่อย 5, 8, 11, 13, 15 15%
2 2.3, 3.3, 5.3 การสอบกลางภาค 9 30%
3 2.3, 3.3, 5.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 2.3, 3.3, 4.3, 5.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 15%
5 1.3, 4.3 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบในรายวิชา ตลอดภาคเรียน 10%
1. เกษม จันทร์แก้วและคณะ , 2544 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  2. ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์ , 2546 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  3. นฤมล กูลศิริศรตระกูล, 2552 เอกสารคำสอนรายวิชาสิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากร ม.ป.ท.
1. นิวัติ เรืองพานิช , 2533 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คู่มือสำหรับการสอนและการฝ๊กอบรม. กรุงเทพฯ อักษรสยามการพิมพ์  2. สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย,สาขาวิชานิติศาสตร์ 2542 เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1-7 พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
1. นิวัติ เรืองพานิช , 2533 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คู่มือสำหรับการสอนและการฝ๊กอบรม. กรุงเทพฯ อักษรสยามการพิมพ์  2. สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย,สาขาวิชานิติศาสตร์ 2542 เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1-7 พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- การประเมินผลการสอนของอาจารย์  - การประเมินตามแบบประเมินความพึงพอใจ
- การประเมินผลจากการตรวจใบงาน  - การประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน  - การสังเกตพฤติกรรม และการมีส่วนร่วม  - การเข้าเรียน  - การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่นโครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ   - การสอบกลางภาคและปลายภาค
- การปรับปรุงแบบประเมินผลจากการตรวจใบงาน  - การปรับปรุงแบบประเมินผลการนำเสนอผลงาน  - การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร โครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ   - การวิจัยในชั้นเรียน  - การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- ทวนสอบจากคะแนนสอบ  - ทวนสอบจากผลการวิเคราะห์และนำเสนอกรณีตัวอย่าง  - ทวนสอบจากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น โครงการจัดการหรืออนุรักษ์
- ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชา เน้นการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลกมากยิ่งขึ้น  - จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดให้มีการสัมมนาทางวิชาการ โครงการจัดการหรืออนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือการศึกษาดูงาน  ปรับปรุงกิจกรรมโครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ