การบัญชีต้นทุน

Cost Accounting

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ความสำคัญ และบทบาทของการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่างๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธี การบัญชีและการควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่ง ทำ ระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง การบัญชีต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ ปัญหาการปันส่วนต้นทุนการผลิต และการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผล การเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
ศึกษาวัตถุประสงค์ ความสำคัญ และบทบาทของการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของ ต้นทุนต่างๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชีและการควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงานทางตรงและ ค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐานและ การวิเคราะห์ผลต่าง การบัญชีต้นทุน ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ ปัญหาการปันส่วนต้นทุนการผลิต และการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
7 ชั่วโมง
มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม

                         - สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ และข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนได้
กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การสอบ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย การทำโจทย์ปัญหา และการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
 1) ติดตามการปฎิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง และให้คะแนน 10%
มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางบัญชี

               - วัตถุประสงค์ ความสำคัญ และบทบาทของการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของ ต้นทุนต่างๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชีและการควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงานทาง ตรงและค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำระบบการบัญชีต้นทุน ช่วงการผลิต  วิธีการ บัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุน มาตรฐานและ การ วิเคราะห์ผลต่าง การบัญชีต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ ปัญหาการปันส่วนต้นทุนการ ผลิต และการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม

มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสา มารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม

                          - ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ การจัดการ และการตลาด

มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โ ดยใช้วิธีการเรียนรู้   จาก ประสบการณ์

          - มีความรู้ในการคำนวณต้นทุนสินค้า และการจัดทำงบต้นทุนการผลิตจากการฝึกปฏิบัติ แก้ โจทย์ปัญหาในห้องเรียน

สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง
บรรยาย ยกตัวอย่าง และถาม – ตอบในชั้นเรียน การฝึกหัดแก้ไขโจทย์ปัญหา
การตอบคำถามในชั้นเรียน การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
1)  สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูลและแนวคิดต่างๆเพื่อนำมาใช้ในการระบุ และวิเคราะห์ ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
                    - สามารถค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อทำรายงานการคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้า ตามที่ได้รับมอบ หมาย
           2)  สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
                     - สามารถจัดทำรายงานการคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าได้
มอบหมายงานกลุ่มให้จัดทำรายการการคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้า
1. คุณภาพของงานที่มอบหมายให้ทำ
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา  สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

                    - สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายได้ ตามข้อตกลงที่กำหนดไว้

มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น  และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรม    ขององค์กรได้เป็นอย่างดี

                        - สามารถร่วมทำงานกลุ่มกับเพื่อนในชั้นเรียนได้

มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการ แก้ไขปัญหา ใน สถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน มีความรับผิดชอบในการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง

                     - สามารถค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อเพิ่มพูลความรู้ รวมทั้งเป็นการพัฒนาความรู้ให้ทัน   ต่อความ เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
ทำงานกลุ่มมี 1 หัวข้อ การคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้า
คุณภาพของรายงาน 
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 1)  มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และ เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่มอบหมายให้วิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2..ด้านการเรียนรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านการวิเคราะห์ ตัวเลขการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3.
1 BACAC123 การบัญชีต้นทุน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,2.3 สอบย่อยครั้งที่ 1 บทที่ 1 ความรู้เบื้องเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน - พื้นฐานการบันทึกบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบต้นทุนการผลิต 4 10%
2 2.1, 2.2, 2.3 สอบย่อยครั้งที่ 2 บทที่ 2 การบัญชีสำหรับวัตถุดิบ 4 10%
3 2.1,2.2,2.3 และ 2.4 สอบกลางภาคเรียน การปันส่วนต้นทุนแผนกบริการไปยังแผนกผลิต บทที่ 1 - 4 ภาพรวมของบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ 8 20%
4 2.1, 2.2, 2.3 สอบย่อยครั้งที่ 3 บทที่ 5 การบัญชีต้นทุนช่วง 11 10%
5 2.1,2.2,2.3 สอบย่อยครั้งที่ 4 การบัญชีต้นทุนช่วงแบบมีเงื่อนไข 13 15%
6 2.1,2.2,2.3 และ 2.4 สอบปลายภาคเรียน บทที่ 6 การปัญชีสำหรับผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ บทที่ 7 การบัญญชีต้นทุนมาตรฐาน 17 15%
7 1.4,2.4,3.3,4.1,4.2 รายงาน ต้นทุนนการผลิต - ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาล้านนา 17 10%
8 1.1,1.2,1.3 2.1,2.2,2.3,2.4,3.1,3.3,5.1 การปฎิบัติในชั้นเรียน งานที่มอบหมาย การมีส่วนร่วมและพฤติกรรมในชั้นเรียน 1-17 10%
Principles of Cost Accounting ,VanDerbeck                                          
การบัญชีต้นทุน Cost Accounting ผศ.เดชา อินเด
ไม่มี
ไม่มี
ใช้การทดสอบปฏิบัติ  ในแต่ละบท
ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยในระบบออนไลน์
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจถึงหลักการคำนวณต้นทุนสินค้า
ให้กรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ เป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบ และ การตัดเกรด 
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ เป็นผู้นำเสนอข้อสอบ และ การตัดเกรด  ก่อนที่จะมีการสอบและการประกาศผล นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2  ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน  วิธีการประเมิน และ เนื้อหารายวิชา