วางผังโครงการ

Site Planning

ศึกษากระบวนการออกแบบวางผังอาคาร ขั้นตอนการวางวัตถุประสงค์โครงการ วิเคาระห์สภาพธรรมชาติ วัฒนธรรม และความงามบริเวณที่ตั้ง แนวทางการออกแบบวางผัง การใช้ที่ดิน เส้นทางสัญจร การอ่านเส้นระดับ  การปรับระดับ การระบายนำ้ ฝึกปฎิบัติการออกแบบวางผัง จัดกลุ่มอาคารลงบนพื้นที่ โดยสอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคมและระบบนิเวศวิทยา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ความเข้าใจในกระบวนการออกแบบ วางผังอาคารและวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งการศึกษาตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องแนวโน้มความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษากระบวนการออกแบบวางผังอาคาร ขั้นตอนการวางวัตถุประสงค์โครงการ วิเคาระห์สภาพธรรมชาติ วัฒนธรรม และความงามบริเวณที่ตั้ง แนวทางการออกแบบวางผัง การใช้ที่ดิน เส้นทางสัญจร การอ่านเส้นระดับ  การปรับระดับ การระบายนำ้ ฝึกปฎิบัติการออกแบบวางผัง จัดกลุ่มอาคารลงบนพื้นที่ โดยสอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคมและระบบนิเวศวิทยา
- อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการเรียนการสอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะการปรับปรุงรายละเอียดผลงานการออกแบบ)
 

 

มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
บรรยายโดยการใช้สื่อการสอน อภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหาของบทเรียน ให้นักศึกษาค้นคว้าและจัดทำข้อมูลรายละเอียดโครงการออกแบบวางผังโครงการ นำนักศึกษาไปศึกษาดูงานกรณีตัวอย่างอาคารนอกสถานที่ ให้นักศึกษาปฏิบัติงานออกแบบ โดยนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิเคราะห์โครงการมาใช้ในงานออกแบบวางผังโครงการ ให้นักศึกษานำเสนอตัวอย่างผลงานออกแบบสถาปัตยกรรม และประเมินผลงาน มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าและทำรายงานประกอบผลงานที่ฝึกปฏิบัติ มีการทบทวน ทดสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
พฤติกรรมการเข้าเรียน เข้าส่งงานที่ได้รับหมายตามขอบเขตที่ให้ตรงเวลา มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมศาสตร์ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย ฝึกปฎิบัติรายบุคคล และการทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายการ การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยโครงการที่มีความสมบูรณ์ของเนื้อหาตามการเรียนการสอน และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบภาคกลาง สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี ประเมินจากการนำเสนอผลงานการเขียนแบบ และการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบในขบวนการออกแบบวางผังทั้งหมดและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง มอบหมายให้นักศึกษาทำโครงการออกแบบวางผัง อภิปราย นำเสนอกรณีศึกษา วิเคราะห์กรณีศึกษา โครงการออกแบบวางผังที่ได้รับมอบหมาย
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีความข้องกับการวางผังบริเวณ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการก่อสร้างต่อการออกแบบการวางผังบริเวณ วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงานภาคปฏิบัติออกมาเป็นรูปธรรม สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 

 

สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องรายวิชา การวางผังบริเวณ การนำเสนอผลงานการออกแบบวางผัง
ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการงทำงานเป็นทีม ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1.. มีทักษะในการหาแนวทางปฎิบัติได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
2.ทักษะในการปฎิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
 
 
 
ใช้วิธีการสอนด้วยวิธีการศึกษาทฤษฎี แนวความคิด ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อกระบวนการวางผังบริเวณ
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฎิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักาะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARAT405 วางผังโครงการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของนักศึกษาหลังจากศึกษาการวางผังบริเวณเบื้องต้น ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 4 10%
2 สอบกลางภาค สอบกลางภาค 8 20%
3 สอบปลายภาค ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ 17 20%
4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน .ให้ส่งรายงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละประเด็นในหัวข้อการเรียน 14-16 20%
5 การทำงานกลุ่มและตรวจแบบร่างผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมายในภาคปฎิบัติ รายงานแต่ละประเด็นที่ได้รับมอบหมาย 11-15 20%
6 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน สังเกตการทำงานกลุ่ม การอภิปลายและแสดงความคิดเห้นในชั้นเรียน 1-17 10%
รศ.เดชา บุญค้ำ .2539 .การวางผังบริเวณ.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.เอื้อม อนันตศาสตร์ .2539 .การออกแบบผังบริเวณ.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Brogden, Felicity. Introduction of Architecture. Chapter 6. Site Planning and Design. Callendar, Handcock John an Dc Chiara Joseph. 1995. Time-Saver Standards for Building Types. New York : Mc Grow-Hill book Company. Lynch, Kevin.1984. Site Planning, 3rd Edition, Mass: MIT Press, Cambridge. Simonds, John Ormsbee, 1983. Landscape Architecture A Manual of Site Planning and Design, 2nd Edition, New York : Mc Graw-Hill
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อกฎหมายอาคาร และเทคโนโลยีก่อสร้าง เช่น www.asa.or.th , สมาคม
สถาปนิกสยามแห่งประเทศไทย , www.thaiengineering.com ส.ว.ท.สมาคมวิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทย