วิศวกรรมซอฟต์แวร์

Software Engineering

นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.1. สามารถศึกษาและเข้าใจ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ การจัดสร้าง การทดสอบ การติดตั้งและการใช้งานในระบบงาน การบำรุงรักษา 1.2. สามารถเข้าใจวิธีการบริหาร การพัฒนาซอฟต์แวร์ 1.3. สามารถนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาระบบ และฝึกการทำงานเป็นทีม 1.4. สามารถสร้างค่านิยมที่ดีในการเอาใจใส่ ต่องานในวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ และสร้างความเชื่อมั่นในวิชาที่เรียน เพื่อนำไปต่อยอดในด้านคอมพิวเตอร์ได้ 1.5. สามารถสร้างทักษะการปฏิบัติ ซึ่งนำความรู้สู่การปฏิบัติจนเกิดความชำนาญ ได้แก่ การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อบริหารโครงการ การประเมินราคา เครื่องมือบริหารโครงร่างและรุ่นซอฟต์แวร์ 1.6. สามารถเขียนเอกสารประกอบโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์
2.1. เพิ่มเนื้อหาส่วนการปฏิบัติการและใบงานมากขึ้น เพื่อการประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฎี แล้วนำไปพัฒนาระบบ ทำให้นักศึกษามีความเข้าใจมากขึ้น 2.2. เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่นสื่อการสอนในรูปแบบภาษาอังกฤษ เพื่อให้นักศึกษาได้ค้นหาเนื้อหาเพิ่มเติมมากขึ้น
ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ การจัดสร้าง การทดสอบ การติดตั้งและการใช้งานในระบบงาน การบำรุงรักษา การบริหาร การพัฒนาซอฟต์แวร์ ฝึกปฏิบัติการใช้ซอฟต์แวร์เพื่อบริหารโครงการ การประเมินราคาเครื่องมือบริหารโครงร่าง และรุ่นซอฟต์แวร์ การเขียนเอกสารประกอบโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ 
3.1 วันพุธ 15.00 -16.00 น. ห้อง ABL202 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์
3.2 E-mail; kanithahomjun@gmail.com เวลา 19.00 - 21.00 น. ทุกวัน
3.3 เข้าชั้นเรียนได้ที่ Team code = tdx4iys หรือ https://bit.ly/2Y4xYc1
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ ความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใ ช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสัง คม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
-บรรยายพร้อมยกตัวอย่างก รณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นท างจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับก ารเป็นนักออกแบบคอมพิวเ ตอร์ที่ดีไม่ละเมิดสิทธิของผู้ อื่น  -การกระทำตนเป็นแบบอย่า งในการมีวินัย ขยัน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
การประเมินผลจากคำตอบและคะแ นนที่ทำแบบฝึกหัด
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลัก การและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอ มพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับกา รแก้ปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้งปรับปรุง และหรือประเมินระบบองค์ประกอบต่ างๆ ของสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ใ ห้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวั ฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่ อเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาวิท ยาการคอมพิวเตอร์เล็งเห็นการเปลี่ยน แปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีให ม่ ๆ 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือ การประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง  2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศา สตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การบรรยายและใช้การเรีย นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาสถาปัตย กรรมคอมพิวเตอร์  การศึกษาที่เน้นค้นคว้าด้วย ตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ
การทดสอบย่อย ในรูปแบบข้อสอบอัตนัยและปรนัย  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภา คเรียน  การสังเกตพฤติกรรมและประเมินคว ามเข้าใจในเนื้อหาของนักศึกษาจาก การถาม- ตอบของนักศึกษาในชั้นเรียน
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นร ะบบ 3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสาร สนเทศเพื่อให้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้ างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้อง การ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับ การแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่ างเหมาะสม
การมอบหมายงานหรือกรณี ศึกษาที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ไขปัญหา  การศึกษาค้นคว้าการเขียนร ายงานและการนำเสนอผลง าน  การสอนแบบตั้งคำถาม  แก้ไข
 
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวย ความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถาณก ารณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบ  การมอบหมายงานกลุ่มที่กำ หนดกรณีศึกษาให้นักศึกษา ต้องทำการวิเคราะห์ร่วมกัน  การมอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล   การประเมินจากโครงงานกลุ่มที่นำเส นอ  การประเมินจากการแบ่งงาน ความรับผิดชอบ ภายในกลุ่ม  9 มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา  ทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสัง คมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของต นเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในกา รแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วน รวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้ งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียน รู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
การมอบหมายงานกลุ่มที่กำ หนดกรณีศึกษาให้นักศึกษา ต้องทำการวิเคราะห์ร่วมกัน  การมอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล
การประเมินจากโครงงานกลุ่มที่นำเส นอ  การประเมินจากการแบ่งงาน ความรับผิดชอบ ภายในกลุ่ม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มี อยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญ หาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ห รือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เ  การสอนที่ส่งเสริมให้นักศึก ษาตัดสินใจบนข้อมูลเชิงตัวเ ลข  การสอนโดยการนำเสนอข้อ มูลทางอินเตอร์เน็ต  การแนะนำเทคนิคการสืบค้ นข้อมูล โดยใช้คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกั บเนื้องหาในแต่ละบทเรียน  การประเมินจากรายงานและรูปแบบ การนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  การประเมินจากการมีส่วนร่วมในกา รอภิปรายและวิธีการอภิปราย  10 มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา  กี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้ง ปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบ บของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ อหรืออย่างเหมาะสม
การสอนที่ส่งเสริมให้นักศึก ษาตัดสินใจบนข้อมูลเชิงตัวเ ลข  การสอนโดยการนำเสนอข้อ มูลทางอินเตอร์เน็ต  การแนะนำเทคนิคการสืบค้ นข้อมูล โดยใช้คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกั บเนื้องหาในแต่ละบทเรียน  การประเมินจากรายงานและรูปแบบ การนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  การประเมินจากการมีส่วนร่วมในกา รอภิปรายและวิธีการอภิปราย  10 มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา  กี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้ง ปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบ บของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ อหรืออย่างเหมาะสม  การมอบหมายงานด้วยการ สืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยใช้ศักยภาพทางคอมพิวเ ตอร์  การนำเสนองานด้วยวิธีวาจ า
การประเมินจากรายงานและรูปแบบ การนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  การประเมินจากการมีส่วนร่วมในกา รอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCS304 วิศวกรรมซอฟต์แวร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 6. ทักษะปฏิบัติ การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 2.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน และการทำแบบฝึกหัด ทุกสัปดาห์ 10%
3 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะปฏิบัติ การทดสอบย่อย ภาคทฤษฎี การทดสอบย่อย ภาคปฏิบัติ 4, 7, 10, 13 20%
4 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค 8 20%
5 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสอบปลายภาค 16 20%
1) หนังสือบังคับ   1.1. กิตติ ภักดีวัฒนะกุลและพนิดา พานิชกุล. 2550. วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering). กรุงเทพมหานคร: KTP COMP&CONSULT.  2) หนังสือเพิ่มเติม  2.1. Software Engineering, Ian Sommerville, 6th Edition, 2001, Pearson, ISBN: 9780137035151, 0137035152 
เว็บไซด์ต่างๆ โดยใช้ คำสำคัญ “วิศวกรรมซอฟต์แวร์” และคำสำคัญประจำบท ตามเนื้อหาของแต่ละบท เพื่อใช้ในการค้นหา
1.1 ตอบคำถามในชั้นเรียน  1.2 ตรวจสอบจากการบ้าน หรือ ใบงานของการปฏิบัติการทดลอง  1.3 ประเมินการให้คะแนนของนักศึกษาด้วยกันเอง ในการนำเสนองาน
ประเมินการสอนจากนักศึกษาเมื่อภาคเทอมการศึกษา และผลการเรียนของนักศึกษา
นำผลการเรียนของนักศึกษาและผลการประเมินการสอนของนักศึกษา ในปีก่อนหน้า มาวางแผนและปรังปรุงการสอน และมีการ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระหว่างเขตพื้นที่
ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนและหลังการเรียน และประเมินจากการนำเสนองาน และผลการปฏิบัติตามใบงานในห้องปฏิบัติการ
นำผลลัพธ์จากข้อ 1 และ 2 มาปรับปรุงแก้ไขในแต่ละสัปดาห์หลังจากประเมินแล้ว ส่วนกรณีผลการเรียน จะต้องทำการปรับปรุงเอกสารการสอน เพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพของนักศึกษา