สถาปัตยกรรมไทย

Thai Architecture

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจรูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย และงานประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณีจากศาสนสถาน ภูมิภาคต่างๆ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกหัดค้นคว้า เรียนรู้และวิเคราะห์สถาปัตยกรรมไทยที่เกิดขึ้นจากค่านิยมทางวัฒนธรรมแบบแผนประเพณี คติความเชื่อ วัสดุก่อสร้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อม
3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความซาบซึ้ง และสำนึกในคุณค่าของงานออกแบบสถาปัตยกรรมไทย ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่า
4. เพื่อให้นักศึกษาฝึกหัดเขียนแบบ และทำหุ่นจำลองงานสถาปัตยกรรมไทย
1. พัฒนา/ปรับปรุงเนื้อหาและการแบ่งหน่วยให้เหมาะสม
2. เตรียมการเพื่อจัดทำสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานสถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณี ประเภทอาคารทางศาสนาและอาคารที่เกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ ของภาคต่าง ๆ ของไทยด้านลักษณะพื้นฐาน ความหมาย คติการสร้าง รูปแบบ วัสดุ โครงสร้าง และเทคนิคการก่อสร้าง มีทัศนะศึกษา
Study and practice of traditional Thai architecture, religious buildings and those related to the royal institution and various regions of Thailand in terms of basic features, meanings, beliefs, forms, materials, structure and construction technique, including field observation excursion.
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เฉพาะรายที่ต้องการ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนทุกครั้ง
- ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน แสดงความคิดเห็นเรื่องความมีวินัย ตรงต่อเวลา
- มอบหมายงานให้รับผิดชอบเป็นกลุ่มให้ช่วยเหลือกัน
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน และการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
- การบรรยายประกอบสื่อผสม
- การอภิปราย
- การนำเสนอรายงานการค้นคว้า
- ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค
- ประเมินจากรายงานบุคคลและรายงานกลุ่ม
- การแสดงความคิดเห็นและการอภิปรายในห้องเรียน
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุคต์ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- การบรรยายประกอบสื่อผสม
- การมอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอแนวคิดวิเคราะห์
- การสะท้อนแนวคิดทางปรัชญาจากการอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค
- ประเมินจากรายงานบุคคลและรายงานกลุ่ม
- การแสดงความคิดเห็นและการอภิปรายในห้องเรียน
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่ม
- การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานสิบค้น
- บรรยายให้คำแนะนำและอภิปราย
- นำเสนอโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
- ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
- มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- มอบหมายงานทำตามแบบและปฏิบัติงานตามข้อแนะนำ
- บรรยายให้คำแนะนำและอภิปราย
- ประเมินจากงานบุคคลและรายงานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARIA203 สถาปัตยกรรมไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การปฏิบัติการเขียนแบบ ทุกสัปดาห์ 40%
2 ความรู้ การสอบกลางภาค/ปลายภาค 9/17- 40%
3 ทักษะทางปัญญา การเข้าชั้นเรียน การเอาใจใส่ต่อการเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การสังเกต/การทำรายงานกลุ่ม/การรายงาน 1/10 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอ/การรายงาน 1/10 5%
6 ทักษะพิสัย การปฏิบัติการเขียนแบบการเอาใจใส่ต่อการเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
เว็บไซด์รายวิชา http://suebpong.rmutl.ac.th
ไม่มี
1. ผศ.ดร.ธาดา สุทธิธรรม, สถาปัตยกรรมไทย, ขอนแก่น, พ.ศ.2541.
2. ศ.เฉลิม รัตนทัศนีย์, วิวัฒนาการศิลป สถาปัตยกรรมไทยพุทธศาสนา, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2539.
3. สมหมาย เปรมจิตต์และคณะ, พระเจดีย์ในล้านนา, เชียงใหม่, พ.ศ.2546 (พิมพ์ครั้งที่ 2)
4. ศ.โชติ กัลยาณมิตร, พจนานุกรม สถาปัตยกรรมและศิลปเกี่ยวเนื่อง, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2548(พิมพ์ครั้งที่ 2)
5. ผศ.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์, วิหารล้านนา, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2544.
6. รศ.สุรพล ดำริห์กุล, แผ่นดินล้านนา, กรุงเทพฯ, 2539.
7. รศ.สมคิด จิระทัศนกุล, คติ สัญลักษณ์และความหมายของซุ้มประตู-หน้าต่างไทย,
กรุงเทพฯ, พ.ศ.2546.
8. กรมศิลปากร, จอมเจดีย์, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2543.
9. รศ.สมคิด จิระทัศนกุล, วัด: พุทธศาสนาสถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2543.
10. นารถ โพธิประสาท, สถาปัตยกรรมในประเทศไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2542.
11. รศ.เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2537.
12. ผศ.สามารถ สิริเวชพันธ์, สถาปัตยกรรมล้านนา, เชียงใหม่, พ.ศ.2548.
13. ผศ.สามารถ สิริเวชพันธ์, เอกสารประกอบการสอนวิชาสถาปัตยกรรมไทย 2, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ, พ.ศ.2527.
14. รศ.ฤทัย ใจจงรัก, สัดส่วนในงานสถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2544.
15. Nithi Sthapitanonda, Brian Mertens, Architecture of Thailand, Bangkok, 2005.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

สอบถามความคิดเห็นนักศึกษาในสัปดาห์สุดท้ายก่อนการสอบกลางและปลายภาคเรียน แบบประเมินผลให้นักศึกษาเขียนแสดงความคิดเห็นการสอนในสัปดาห์สุดท้ายก่อนการสอบกลางและปลายภาคเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

จัดประชุมคณาจารย์ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน ผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

ใช้ผลการประเมินโดยนักศึกษา การจัดประชุม สัมมนาคณะอาจารในสาขาวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ด้งนี้

มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา และพิจารณาข้อสอบ ผลสอบ แจ้งผลการประเมินผลการสอบ รายงาน การนำเสนอ และคะแนนให้นักศึกษาทราบ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนา และ มคอ.5 มาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป จัดให้มีวิทยากรที่มีความสามรถ เป็นที่ยอมรับมาบรรยายเพิ่มเติม