สัมมนาศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์

Seminar in Art and Creative Design

รู้และเข้าใจหลักการเกี่ยวกับนำเสนอและอภิปรายหัวข้อที่น่าสนใจทางศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะในระดับปริญญาโท แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์จากผู้รู้และผู้เชี่ยวชาญ
    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการนำเสนอและอภิปรายหัวข้อทางศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการนำเสนอประเด็นปัญหาด้านศิลปะและการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับสังคมในปัจจุบัน รวมถึงการเตรียมหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์
 ศึกษาและฝึกปฏิบัตินำเสนอและอภิปรายหัวข้อที่น่าสนใจทางศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะในระดับปริญญาโท แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์จากผู้รู้และผู้เชี่ยวชาญ
 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ

3.  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอย่างยั่งยืน  

2. อภิปรายกลุ่ม
3. กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง 
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลรายงานที่มอบหมาย
ความรู้เกี่ยวกับการสัมมนา นำเสนอ และอภิปรายหัวข้อที่น่าสนใจทางศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์เพื่อนำมาพัฒนาเป็นหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การทำรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และโครงงาน Problem – based Learning 
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการทำรายงาน การค้นคว้าข้อมูล  หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.3   ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อทางด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบอย่างยั่งยืน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็น  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนศ.   
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
     6.1.1   มีทักษะด้านออกแบบผลงานและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติและงานสามมิติ
     6.1.2   มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงาน
          6.1.3   มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์สอย
     6.2.1   มอบหมายงานให้ปฏิบัติงาน Project – based Learning (วิทยานิพนธ์)
     6.2.2   นักศึกษานำเสนอแนวคิดการออกแบบ
     6.3.1   ประเมินจากผลงานออกแบบ Project – based Learning 
     6.3.2   ประเมินจากแนวคิดการออกแบบ
     6.3.3   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 15% 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การอภิปรายกลุ่ม งานปฏิบัติในชั้นเรียน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 5% 30% 25%
3 1.3.1, 1.3.2,1.3.3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. จอมสุดา ดวงวงษา. ม.ป.ป. คู่มือวิชาสัมมนาระดับปริญญาตรี. เอกสารประกอบการสอนวิชาสัมมนาระดับปริญญาตรี
                 คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
3. ไพพรรณ เกียรติโชติชัย. 2548. การจัดการสัมมนาสู่ความเป็นเลิศ Seminar for Excellence. พิมพ์ครั้งที่ 4.  
                 บริษัทการศึกษา จำกัด, กรุงเทพฯ.
4. สุนทร เกตุสุขาวดี. 2553. สัมมนางานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
5. โสภาพ ชูเพ็ง. 2553. เอกสารประกอบค้าสอน วิชาสัมมนาทางพืชสวนประดับ. คณะเทคโนโลยีการเกษตร
                มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการศึกษาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์