ปฏิบัติการถ่ายภาพ

Practice on Photography

ด้านคุณธรรมจริยธรรม 
    หลัก - มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ 
ด้านความรู้ 
    หลัก - รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 
   รอง -  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 
ด้านทักษะทางปัญญา 
   หลัก - สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
   หลัก - มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ  
    - ไม่มี
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
   รอง - สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และ นําเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
ทักษะพิสัย 
    หลัก -  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
   รอง -  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
    เพื่อจัดการเรียนการสอน และเนื้อหาในบางหัวข้อให้สอดคล้องเทคโนโลยีปัจจุบัน    มีการบูรณาการรายวิชากับงานด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม โดยการจัดการมอบหมายงานให้จัดทำภาพถ่ายโฆษณาการป้องกันตัวเองจากไวรัส โควิด -19  เพื่อเป็นการส่งเสริมความเข้าใจและตระหนักถึงภัยจากโควิด-19 วิธีการจัดการเรียนการสอน และเนื้อหาในบางหัวข้อให้สอดคล้องเทคโนโลยีปัจจุบัน ใช้วิธีการสอนในรูปแบบเน้นให้นักศึกษาหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ มาอภิปรายในชั้น เรียน มีขั้นตอนกระบวนการกำหนดแนวคิด การร่างภาพ การวางแผนงานการผลิตภาพถ่ายโฆษณา ปรับปรุงคุณภาพในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษา ปรับเนื้อหาและหัวข้อของการจัดกิจกรรมพิเศษให้ดู น่าสนใจ เหมาะสม     
    ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์ถ่ายภาพ การจัดองค์ประกอบภาพถ่าย การจัดแสง การสร้างสรรค์ภาพถ่าย การทําแบบร่างภาพถ่าย การ สร้างสรรค์ตกแต่งภาพถ่ายด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์  
    Practice with photographic devices, composition in photography, lighting ,  Photo layout model and creative retouching techniques for photography using Computer Software. 
    1) อาจารย์ประจํารายวิชาให้คําปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์
    2) อาจารย์ประจํารายวิชาให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ โดยระบุ วัน เวลา ไว้ใน ตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม )เฉพาะรายที่ ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า 
    - ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
    - มอบหมายงานปฏิบัติการภาพถ่ายในหัวข้อถ่ายภาพโฆษณาสร้างสรรค์สินค้าประเภทต่าง ๆ บูรณาการกับงานส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม 
    - ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน  ประเมินจากผลงานปฏิบัติการถ่ายภาพโฆษณาที่ส่ง   
    -  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
    -  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
    - มอบหมายการปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลและงานกลุ่ม ให้ตอบโจทย์ต่อชุมชนและสังคม งานโฆษณาสินค้าอุปโภค บริโภค บูรณาการความรู้ทางด้านงานส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อมเข้ากับชิ้นงาน (ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม) 
    - ประเมินจากผลงานปฏิบัติ  การประยุกต์ใช้องค์ ความรู้ เทคนิคต่าง ๆ ที่นํามาใช้ในการปฏิบัติงาน 
    -  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 
    - มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน  
    - มอบหมายโจทย์ให้นักศึกษามีการวางแผนสร้างสรรค์ผลงานการถ่ายภาพโฆษณา แก้ปัญหาได้ตามโจทย์ที่มอบหมาย ในหัวข้อการถ่ายภาพโฆษณาสินค้า และบูรณาการกับงานส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
    - ประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่มและงานเดี่ยว และการมีส่วนร่วมในการคิดและวางแผนสร้างสรรค์ผลงาน
    -  สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 
    - ในการปฏิบัติงานกลุ่มให้มีการอภิปราย การแสดงออกซึ่งความคิดสร้างสรรค์ การนําเสนอข้อมูลความรู้แนวทางในการปฏิบัติงาน 
    - การแสดงแนวความคิดสร้างสรรค์ การนำเสนอผลงานการแสดงความคิดเห็นและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 
    - สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และ นําเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
    - สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 
    - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ศึกษาแนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน มีการนําเสนอผลงาน 
    - การนําเสนอข้อมูลการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม การแสดงความคิดเห็นและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 
    -  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
    -  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
    - ให้นักศึกษานําเสนอคิดสร้างสรรค์ ค้นคว้าหาเทคนิค แนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานการถ่ายภาพโฆษณา การปฏิบัติงาน
    - ประเมินจากผลงานการสร้างสรรค์ภาพถ่ายโฆษณา ที่นักศึกษาลงมือปฏิบัติ 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุ6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3. มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ 1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 1. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 1. มีภาวะผู้นําเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และ นําเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับงานศิลปกรรม 1. มีทักษะในการทาตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนํา 2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACD105 ปฏิบัติการถ่ายภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การทำงานกลุ่มและงานรายบุคคลในการสร้างสรรค์ภาพถ่ายโฆษณา และการบริการวิชาการ 1-15 10
2 ด้านความรู้ - มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม - มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา ความคิดสร้างสรรค์ แบบร่างภาพถ่ายโฆษณา, การปฏิบัติงานกลุ่มและรายบุคคล การบูรณาการงานกับงานศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่น 3-15 10
3 ด้านทักษะทางปัญญา - สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ - มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงา ประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม และการมีส่วนร่วมในการคิดและวางแผนสร้างสรรค์ผลงาน ประเมินจากผลงานการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายโฆษณา 3-15 20
4 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และ นําเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ - เทคนิคและแนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายโฆษณา เทคนิควิธีการนําเสนอผลงาน 3-15 10
5 ทักษะพิสัย - มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง - มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน - ผลงานการสร้างสรรค์ภาพถ่ายโฆษณา ผลงานกลุ่ม รายบุคคล 17 50
E-Book  เอกสารคําสอนรายวิชา BAACD104 การถ่ายภาพจาก http://suraphon.rmutl.ac.th/E-.1html  หนังสือเทคนิคการถ่ายภาพทีเกี่ยวข้อง ตําราถ่ายภาพอื่น ๆ 
จรรยาบรรณนักถ่ายภาพ กฎหมายลิขสิทธิ์ เอกสาร ตํารา เทคนิคการถ่ายภาพโฆษณา โปรแกรมตกแต่งภาพ Photoshop 
( ดาวน์โหลดและเข้าถึงได้จากเว็บไซต์ของผู้สอน http://suraphon.rmutl.ac.th/E-1.html)  
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา  การแต่งกาย บุคลิกภาพ  คําพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม   การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน  ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้  แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน  จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา  การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้  ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้  ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้  ข้อเสนอแนะอื่นๆ เช่นและการประเมินความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการประกวดการถ่ายภาพและบรรยายพิเศษ 
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดําเนินการดังต่อไปนี้
2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑
2.2 สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน ) โดยเพื่อนอาจารย์ (ในประเด็ นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา  การแต่งกาย บุคลิกภาพ  คําพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม   การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน  ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน  ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้  แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน  จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา  การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
2.3ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้  ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน  ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน  ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป     
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้
3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนําเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละ คาบการสอน  
3.2 ประชุม  / การเรียนการสอนสําหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้สั มมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัด  ผลการศึกษาของนักศึกษา  ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา  ผลการประเมินการสอน  บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้
 การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร
 การประเมินโดยกรรมการประจําหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายใน / ภายนอก 
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม  /ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้ง พิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกําหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษา ต่อไป ทั้งเนื้อหา ลําดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล ปรับปรุงรายวิชาและวิธีการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป ตามข้อเสนอแนะตามข้อเห็นของนักศึกษา ๑ ดําเนินการทบทวนปรับปรุงรายวิชาในทุก ๕ ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ หรือ ในกรณีที่พบปัญหา มีวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายเสริม เพื่อรับประสบการณ์หรือสภาพปัญหาในการทํางานจริง ปรับหัวข้องาน ปฏิบัติที่มอบหมาย หรือปรับหัวข้อในโครงการประกวดภาพถ่ายให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน