ภูมิสถาปัตยกรรม

Landscape Architecture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีหลักการและกระบวนการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ความรู้ทางพฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยาสภาพแวดล้อม การวางผังบริเวณ การจัดองค์ประกอบในงานภูมิสถาปัตยกรรม มีทักษะในการออกแบบเขียนแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เตรียมความพร้อมในการนำความรู้ความเข้าใจในงานภูมิสถาปัตยกรรม ที่มีความสัมพันธ์กับวิชาชีพสถาปัตยกรรมผังเมือง สถาปัตยกรรมหลัก สถาปัตยกรรมภายใน และเทคโนโลยีในสถานการณ์ปัจจุบัน เตรียมความพร้อมสู่โลกอนาคต
ศึกษาทฤษฎีทางพฤกษศาสตร์   การปรับและทำระดับ การสัญจร การระบายน้ำ  องค์ประกอบในการตกแต่งสวนบริเวณรอบอาคาร การทำผังบริเวณ  ฝึกปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบภูมิทัศน์
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์กลุ่มวิชาภูมิสถาปัตยกรรม หรือให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
-มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
-อบรมเรื่องคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ 
-ประเมินผลจากการส่งงานตรงตามเวลา การทำงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
-มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวกับภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์
-สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์
-สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในภูมิสถาปัตยกรรมกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
-อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม พัฒนาการ ประวัติศาสตร์ในแต่ละยุคสมัย แนวความคิดและทฤษฎี การศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม
-ฝึกออกแบบวางผังบริเวณและจัดองค์ประกอบภูมิทัศน์แข็ง(hardscape)งานภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก
-ฝึกออกแบบพืชพันธุ์ไม้(softscape)
-ฝึกออกแบบระบบการระบายนำ้ การให้นำ้พืชพันธุ์ไม้ งานออกแบบระบบดวงโคมแสงสว่าง
-ตรวจผลงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์ 
-ตรวจความก้าวหน้าและให้คะแนน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายในการทำผลงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก
-ประเมินผลงานให้คะแนนขั้นตอนสุดท้ายในการทำโครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก
-มีทักษะการปฎิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางวิชาการหรือวิชาชีพ
-มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
-อธิบายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา วิเคราะห์ให้เห็นและเข้าใจในงานภูมิสถาปัตยกรรม
-ฝึกปฎิบัติตามบทเรียนที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์
-ฝึกปฎิบัติออกแบบและเขียนแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก
-ประเมินผลจากจากส่งงานตรงต่อเวลาที่กำหนด
-ประเมินผลจากคะแนนเก็บจากงานที่มอบหมายตามบทเรียนที่กำหนด
-ประเมินผลจากโครงการออกแบบและเขียนแบบภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็กช่วงสัปดาห์สุดท้าย
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- อธิบายนำเสนอ การสื่อความหมายและเครื่องมือสื่อสารสำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรม
-ประเมินผลจากผลงานการนำเสนอแบบและข้อมูลที่ได้มอบหมายในแต่ละบทเรียนที่กำหนด
-มีทักษะในการหาแนวทางปฎิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
-มีทักษะในการปฎิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
-อธิบายเนื้อหาหลักการและลงมือฝึกปฎิบัติงานตามเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
-อธิบายแนวทางการออกแบบและเขียนแบบพร้อมให้ฝึกทำโครงการออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม
-ประเมินผลจากผลงานปฎิบัติที่กำหนดในเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
-ประเมินผลจากโครงการออกแบบและเขียนแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็กที่เรียนตลอดหลักสูตร
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARAT502 ภูมิสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม -มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม -การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด การเข้าชั้นเรียน ความร่วมมือในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ -มีความรู้ความเข้าใจทางด้านทฤษฐีและหลักการปฏิบัติทางด้านภูมิสถาปัตยกรรม -สามารถใช้วิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง -สามารถบูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์ต่างๆมาประยุกต์กับงานภูมิสถาปัตยกรรม สอบกลางภาคและสอบปลาย สัปดาห์ที่ 8,สัปดาห์ที่ 17 30%
3 ด้านทักษะทางปัญญา -มีทักษะการปฏิบัติงานการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการสู่ด้านวิชาชีพ -มีทักษะในการนำความรู้มาคิดวิเคราะห์และใช้อย่างเป็นระบบ -สามารถปฏิบัติงานด้านวิชาชีพได้ทั้งทักษะด้านการออกแบบและเขียนแบบภูมิสถาปัตยกรรม -สามารถนำองค์ความรู้และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาประมวลผลสู่งานวิชาชีอย่างเป็นระบบ ตลอดภาคการศึกษา 50%
4 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ด้านทักษะพิสัย -มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง -มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 5%
6
-การออกแบบสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับทุกคน,สถาบันสถาปนิกสยาม,สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปภัมภ์,2552
-ไซมอน การ์เนอร์,พินดา สิทธิสุนทร,วิไลวรรณ อนุสารสุนทร, ต้นไม้เเมืองเหนือ คู่มือศึกษาพรรณไม้ยืนต้นในป่าภาคเหนือประเทศไทย,มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย,โครงการจัดพิมพ์คบไฟ,2543
-เดชา บุญค้ำ.การวางผังบริเวณและงานบริเวณ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2557
-ผศ.ดร.ณัฏฐ พิชกรรม,รศ.ดร.อลิศรา มีนะกนิษฐ,รศ.ดร.ศศิยา ศิริพานิช,รศ.ดร.เอื้อมพร วีสมหมาย,พรรณไม้ในงานภูมิสถาปัตยกรรม,กรุงเทพฯ,สำนักพิมพ์ SE-ED,E-BOOK.2013
-Charies W.Harris & Nicholas T.Dines,TIME-SAVER STANDARDS FOR LANDSCAPE ARCHITECTURRE,NY : McGraw-Hill,Inc,1988
-Grant W.Reid,ASLA,FROM CONCEPT TO FORM In Landscape Design, Van Nostrand Reinhold,An International Thomson Publishing Company.,1993
-Gvant W.Reid,FASLA,From Concept to Form in LANDSCAPE DESIGN, Second Edition, Copyrigted Materiat. Amazon book Clubs.
-Nation Park Service, MASTER PLAN HANDBOOK, Ministry of Interior, US. govt.,Washington D.C.1964
-Norman K.Booth, BASIC ELEMANTS OF LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN. Amazon book Clubs.
-Lynch,Kevin,SITE PLANNING,3rd Edition, MIT Press,Cambridge,Mass.1984
-Simonds, John Ormsbee, LANDSCAPE ARCHITECTURE, A MANUAL OF SITE PLANNING AND DESIGN,2 nd Edition, McGraw-Hill Inc.N.Y.1983
-Theodore D. Walker and David A. Davis, PLAN GRAPHICS , Fourth Edition.VAN NOSTRAND REINHOLD,New York,1990
 
-เดชา บุญค้ำ,การวางผังบริเวณ(site planning),เอกสารประกอบการสอนวิชา 2504321 การวางผังบริเวณ, ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2539
-ศิริชัย หงษ์วิทยากร, ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น เอกสารคำสอน วิชา ภส 121 ,ภาควิชาภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ,มหาวิทยาลัยแม่โจ้,2543
-ศิริชัย หงษ์วิทยากร ,ประวัติภูมิสถาปัตยกรรม, เอกสารคำสอน วิชา ภส 222 ,ภาควิชาภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม,มหาวิทยาลัยแม่โจ้,2543
-เอกสารบังคับอ่านประกอบวิชา LA 2504-371 ภูมิสถาปัตยกรรม , ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536
ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี