ปฐพีวิทยาเบื้องต้น

Principles of Soil Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการเกิดดิน สมบัติทางกายภาพ ทางเคมี และชีวภาพของดิน ธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช ปุ๋ยและหลักการใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้องและเหมาะสม หลักการสำรวจและจำแนกดิน ตลอดจนการอนุรักษ์ดินและน้ำ
1.2 นักศึกษามีทักษะในการเก็บตัวอย่างดินที่ถูกต้อง การวิเคราะห์ดินอย่างง่าย การผลิตปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้ำหมักเพื่อใช้เอง การผสมปุ๋ยเคมีเพื่อใช้เอง
1.3 นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม สามารถสืบค้นและใช้สื่อสารสนเทศได้
เพื่อเพิ่มทักษะการค้นคว้า การอ่าน การวิเคราะห์ และสรุปงานวิจัยใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการดินและปุ๋ย เพื่อจัดทำรายงานหรือนำเสนองานในชั้นเรียน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การกำเนิด สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมีและชีวภาพ ธาตุอาหารในดิน ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย การจัดการและการอนุรักษ์ดินและน้ำ
The study and practice of the origin of soil, physical of soil, chemical and biological of soil, nutrient, fertilizers and application, the management of soil and water conservation.
- อาจารย์ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในข้อตกลงครั้งแรกของการเรียนการสอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
3.1 วันพุธเวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ โทร..089-6458516
3.2 e-mail; Pramoth2550@hotmail.com
3.3 Facebook: ปฐพีวิทยาเบื้องต้น 2/2561
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียน ห้องปฏิบัติการตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายการปฏิบัติการ และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดเวลา ความพร้อมเพรียงในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร

ความซื่อสัตย์ในการสอบและการทำงานมอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยายอภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยนำมาสรุปและนำเสนอการศึกษาโดยใช้ปัญหาและโครงงาน Problem based learning

การสอนแบบปฏิบัติ
การทดสอบย่อย การทดสอบกลางภาค-ปลายภาค ประเมินจากรายงาน ประเมินจากการนำเสนองาน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ฝึกปฏิบัติ/ให้บริการวิชาการ/วิชาชีพแก่เยาวชนในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์
ประเมินจากผลการปฏิบัติงานจริง

ประเมินจากผู้รับบริการ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
อภิปรายการทำงานกลุ่มการนำเสนอรายงาน
ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด

รายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอนการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

- นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม

การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCAG010 ปฐพีวิทยาเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี การมีส่วนร่วมในการทำบทปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ 15%
3 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (หน่วยที่ 1, 2) 6 12%
4 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ การสอบกลางภาค (หน่วยที่ 3, 4และ 5) 8 20%
5 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ สอบปลายภาค (หน่วยที่ 6 และสอบบทปฏิบัติการ) 18 30%
6 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม การนำเสนองาน/การรายงาน (หน่วยที่ 7, 8 และงานมอบหมาย) 17 18%
คณาจารย์ ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2544.ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้ง9.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
คณะกรรมการจัดทำปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา. กรุงเทพฯ :       สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปฐพีชล วายุอัคคี. ดินและปุ๋ย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฐานเกษตรกรรม.
สงบ สำองค์ศรี. 2544. การจัดการดินบนพื้นที่ลาดชัน (กลุ่มชุดดินที่ 62) เพื่อปลูกไม้ยืนต้นในระบบวนเกษตรเชิงอนุรักษ์ดินและน้ำ. ราชบุรี : สำนักงานพัฒนาที่ดิน
เขต 10 กรมพัฒนาที่ดิน.
สุรสิทธิ์ ซาวคำเขต. 2551. วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำโดยใช้แรงคน : กรณีศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองเขียว ต. เมืองนะ อ.เชียงใหม่. เชียงใหม่ : สำนักงานพัฒนา
ที่ดินเขต 6 กรมพัฒนาที่ดิน.
เอิบ เขียวรื่นรมย์. 2542. การสำรวจดิน: มโนทัศน์ หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อำนาจ สุวรรณฤทธิ์. 2551. ปุ๋ยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Pons, L.J. and Van Der Kevie. 1996. Acid Sulphate Soils in Thailand. Studies on the morphology,genesis and Agricultural Potential of soils
with Cat Clay.
Report SSR 81, Soil surveyDivision, Bangkok 65 P.
Harpstead, M.I., Sauer, Th. J. and Benneth. 2001. Soil Science Simplified. Fourth edition. Ames: Iowa State University Press.W.F.
ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ ชัยฤกษ์ สุวรรณรัตน์ สมชาย กรีฑาภิรมย์ และบุญแสนเตียวนุกูลธรรม. 2542. การวิเคราะห์ N P K ในดินอย่างง่าย. วารสารดินและปุ๋ย 21 :
46-51
Juo and K. Franzluebbers. 2003. Tropical Soils. Properties and Management for Sustainable Agriculture.Oxford : Oxford University Press.
Land Classification. 1973. Soil Interpretation Handbook ForThailand. Department of Land Development, Ministry of Agriculture and
Coorperatives, Bangkok, Thailand.
Washington State University (Tree Fruit Research and Agriculture). Physical Properties of Soil. Updated July 15, 2004. Available from:
http://soils.tfrec.wsu.edu/mg/physical.htm(October, 2, 2009).
- www.science-direct.com
ชี้แจงอธิบายการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาตาม มคอ.3 และมีแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินผลการเรียนรู้ของตนเองของนักศึกษาในรายวิชานี้
คณะกำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
เสวนาร่วมกันกับผู้สอนในรายวิชาอื่นๆ ถึงแนวทางการสอนที่เห็นว่าน่าจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจยิ่งขึ้น และติดตามพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนในรายวิชาอื่นๆ ว่าเป็นเช่นไร รวมถึงพิจารณาจากการประเมินการสอนของนักศึกษาในเทอม 2/2563 เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
ในระหว่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนรายวิชานี้ มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา โดยการสอบถามนักศึกษาและการตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการสอบย่อย ผลการเรียนรายวิชา และการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเองของนักศึกษาในรายวิชานี้
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนในรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ ปรับปรุงเนื้อหาในรายวิชาให้ทันสมัยทุกเทอมที่มีการเรียนการสอนรายวิชา เชิญอาจารย์พิเศษที่มีประสบการณ์ภาคสนามทางด้านการจัดการดินและปุ๋ยมาสอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้นี้กับปัญหาที่พบจริงในท้องถิ่น หรือนำนักศึกษาไปศึกษาดูงานที่พัฒนาที่ดินเขต 7 มอบหมายงานให้นักศึกษาได้ปลูกพืชและปฏิบัติดูแลรักษาด้านการจัดการดินและปุ๋ย และให้นักศึกษาฝึกบริการวิชาการทางด้านดินและปุ๋ยแก่ผู้สนใจที่มาศึกษาดูงานการผลิตพืช โดยมีอาจารย์เป็นพี่เลี้ยง