หมึกและกระดาษ

Ink and Paper

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุประเภทหมึกและกระดาษ ที่นำมาใช้ในการผลิตสิ่งพิมพ์ เพื่อให้รู้ถึงองค์ประกอบ ขั้นตอนการผลิต การวิเคราะห์และประเมินผล เพื่อแก้ไขปัญหาทางการผลิตสิ่งพิมพ์
1. เพื่อให้นักศึกษารู้ประเภทและสมบัติของวัสดุใช้พิมพ์ ประเภทหมึกและกระดาษ
2. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจองค์ประกอบพื้นฐานของหมึกและกระดาษที่ใช้พิมพ์
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแก้ไชปัญหาทางการพิมพ์ที่เกิดจากสมบัติของหมึกและกระดาษ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุประเภทหมึกและกระดาษ ที่นำมาใช้ในการผลิตสิ่งพิมพ์ เพื่อให้รู้ถึงองค์ประกอบ ขั้นตอนการผลิตที่เป็นปัจจัยอันส่งผลกระทบต่อคุณภาพทางการพิมพ์ เพื่อสามารถำมาใช้ในการวิเคราะห์และประเมินผล เพื่อแก้ไขปัญหาทางการผลิตสิ่งพิมพ์
จัดเวลาให้คำปรึกษาเฉพาะรายบุคคล ตามความเหมาะสม
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด

3. กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างหรือกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ได้รับความรู้และความเข้าใจด้านวัสดุประเภทหมึกและกระดาษที่ใช้เป็นวัสดุพิมพ์ เข้าใจถึงโครงสร้างและหลักการในการในการผลิตของวัสดุทั้งสอง ตลอดจนเข้าใจปัญหาและสาเหตุที่เกิดจากสมบัติของวัสดุประเภทหมึกและกระดาษ อันจะส่งผลต่อการวิเคราะห์ และหาทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิกจากหมึกและกระดาษพิมพ์
1 บรรยาย  อภิปราย  การนำเสนอรายงาน
2 การพิจารณาจากผลงานที่รับมอบหมาย
3 สังเกตผลจากการสอบ และงานปฏิบัตที่มอบหมาย
1   ประเมินจากวิธีการและเทคนิคในการนำเสนอหน้าชั้น และจากการตอบคำถาม
2   มีการประเมินผลความรู้ด้วยการสอบภาคทฤษฎี
สามารถคิด และวิเคราะห์ทุกเรื่องอย่างมีวิจารณญาณและประมลวลความคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ตามหลักการที่ได้รับ
1   การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลด้านการใช้งานในปัจจุบัน และด้านเทคโนโลยีที่พัฒนา
2   อภิปรายกลุ่ม ตอบข้อซักถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
1   ผลการนำเสนอและรายงานที่มอบหมาย
1   มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในงานที่ได้รับมอบหมาย
2   มีความคิด กล้าตัดสินใจและกล้าแสดงออกอย่างมีขอบข่าย
3  สามารถปฏิบัติตนรับผิดชอบงานและมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานด้วยความเต็มใจ
1   จัดกิจกรรมกลุ่ม ให้นค้นคว้าหาข้อมูล
2   ปลูกฝังให้นักศึกษามีความรับผิชอบ และยอบรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
3   ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิชอบ และทำงานของตนเต็มความสามารถ
1   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2  ประเมินจากผลงานที่จัดส่ง
3   สังเกตพฤติกรรมจากการระดมสมอง    
1   ทักษะความรู้พื้นฐานด้านวัสดุประเภทหมึกและกระดาษ
2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง
3   ทักษะด้านเทคโนโลยีการผลิตและแก้ไขปัญหาการผลิต
4   พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูล
5   ทักษะในการนำเสนอผลการศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
1   บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
2   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
3   นำเสนอผลงานตามรูปแบบที่เหมาะสม
1   ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอ
2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและการตอบข้อซักถาม
        1   มีกิจนิสัยในการปฏิบัติที่ดี
        2   มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
        3   มีการปฏิบัติด้านการเข้าเรียน การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบมหาวิทยาลัย
1   สร้างเจตนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน
2   ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และต่อสังคม
1   พิจารณาจากผลงานปฏิบัติ
2   สังเกตุฤติกรรมและการแสดงออก โดยบันทึกข้อมูลและความเปลี่ยนแปลง
3   ประเมินจากผลงานที่มีคุณภาพ ตรงตามหัวข้อที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารฯ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฎิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้งานอย่างเป็นระบบ มีมนุษย์สัมพันธํและมารยาททางสังคมที่ดี มีความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ค้นคว้า วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการทำตามแบบ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BTEPP128 หมึกและกระดาษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่มอบหมายตรงตามเวลาที่กำหนด การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 30
3 ทักษะทางปัญญา วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ ตลอดภาคการศึกษา 15
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กิจกรรมกลุ่ม การอภิปราย การมีส่วนร่วม การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 30
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดทำรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี การสืบค้นข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี 13, 14, 15 15
                 - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 1-4. มหาวิทยาลัยสุโขทัธรรมาธิราช, 2539
                 - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 5-10. มหาวิทยาลัยสุโขทัธรรมาธิราช, 2539
                 - วัสดุทางการพิมพ์ หน่วยที่ 1-8. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539
                 - วัสดุทางการพิมพ์ หน่วยที่ 9-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539
                 - ระบบพิมพ์แบบต่างๆ และการนำไปใช้งาน. รศ.ดร.อรัญ หาญสืบสาย, 2548
ไม่มี
ไม่มี
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2   ผลการเรียนของนักศึกษา
3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ