เทคโนโลยีการพิมพ์

Printing Technology

ศึกษาประวัติ หลักการทางการพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ การพิมพ์พื้นฉลุ และกระบวนการพิมพ์ไร้แรงกด ตลอดจนกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์
1. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความหมายและหลักการทางการพิมพ์
2. เพื่อให้นักศึกษารู้ความแตกต่างระหว่างการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ และการพิมพ์พื้นฉลุ การพิมพ์แบบไร้แรงกด
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกประเภทการพิมพ์ที่เหมาะสมกับสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละประเภท
ศึกษาประวัติและหลักการทางการพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ และการพิมพ์พื้นฉลุ ข้อดีข้อจำกัดของการพิมพ์แต่ละระบบ ตลอดจนการผลิตสิ่งพิมพ์ ปฏิบัติงานด้านหลักการพื้นฐานในการถ่ายทอดภาพทางการพิมพ์
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา 
 -   จัดเวลาให้คำปรึกษาเฉพาะรายกลุ่มหรือรายบุคคล ตามความเหมาะสม
มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งแล ลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีการพัฒนาตนเอง  วิชาชีพ  บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการ พัฒนาทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เศรษฐกิจ  สังคม  และการเมืองอยู่เสมอ
ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ ให้ความสำคัญ กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างหรือกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง
1.   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1. ประวัติและหลักการทางการพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ และการพิมพ์พื้นฉลุ
2. หลักการและพัฒนาการการพิมพ์ไร้แรงกด
3. กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์
4. ข้อดีข้อจำกัดของการพิมพ์แต่ละระบบ
1. บรรยายและเสนอสื่อภาพเคลื่อนไหว
2. มอบหมายงาน และให้มีการนำเสนอรายงาน
3. การศึกษาดูงานสถานประกอบการที่เกี่ยวข้อง
1.   ประเมินจากงานปฏิบัติและการนำเสนองานที่มอบหมาย
2.   มีการประเมินผลความรู้ด้วยการสอบภาคทฤษฎี
1. สามารถคิด และวิเคราะห์ทุกเรื่องอย่างมีวิจารณญาณ
2.  นำความรู้ที่ได้มาประมวลความคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา
1.   การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
2.   อภิปรายกลุ่ม ตอบข้อซักถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
1.   ผลการนำเสนอและรายงานที่มอบหมาย
1.   มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในงานที่ได้รับมอบหมาย
2.   มีความคิด กล้าตัดสินใจและกล้าแสดงออกอย่างมีขอบข่าย
3.  สามารถปฏิบัติตนรับผิดชอบงานและมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานด้วยความเต็มใจ
1.   จัดกิจกรรมกลุ่ม ให้ค้นคว้าหาข้อมูล
2.   ปลูกฝังให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ และยอบรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
3.   ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และทำงานของตนเต็มความสามารถ
1.  การสอบกลางภาคและปลายภาคการศึกษา
2.  ประเมินจากผลงานที่มอบหมายและการนำเสนอ 
3.  ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
4.  สังเกตพฤติกรรมจากการการทำงานครบถ้วนตรงตามที่มอบหมาย ส่งงานตรงตามเวลา ที่กำหนด     
1.   ทักษะความรู้ด้านพื้นฐานและหลักการการพิมพ์แต่ละระบบ
2.   มีความรู้ข้อดีและข้อจำกัดการพิมพ์พื้นนูน การพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นราบ และการพิมพ์พื้นฉลุ
3.   มีความรู้ด้านกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์
1.   บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
2.   แสดงสื่อ หรือสื่อภาพเคลื่อนไหวประกอบความเข้าใจ
3.  ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
4.   นำเสนอผลงานตามรูปแบบที่เหมาะสม
1.   ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอ
2.   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
1.   มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
2.   มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
3.   มีการเข้าเรียนตรงต่อเวลา การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบมหาวิทยาลัย
1.   สร้างเจตนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน
2.   ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานที่ศึกษาอยู่และส่วนงานที่เกี่ยวข้อง
1.   พิจารณาจากผลงานปฏิบัติ
2.   ผลการสอบภาคทฤษฎี
3.   สังเกตจากพฤติกรรมและการแสดงออก
4.   ประเมินจากผลงานทำได้ตรงตามหัวข้อที่มอบหมาย ตรงเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารฯ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฎิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้งานอย่างเป็นระบบ มีมนุษย์สัมพันธํและมารยาททางสังคมที่ดี มีความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ค้นคว้า วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการทำตามแบบ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BTEPP101 เทคโนโลยีการพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่มอบหมายตรงตามเวลาที่กำหนด การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 15
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 50
3 ทักษะทางปัญญา วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ 5, 6, 7, 11, 12 15
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กิจกรรมกลุ่ม การอภิปราย การมีส่วนร่วม การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 5, 6, 7, 11, 12 15
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดทำรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี การสืบค้นข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี 12 5
- การจัดการทางการผลิตและการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ หน่วยที่ 9-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี 2553
   - กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ หน่วยที่ 1-7. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540
                 - กระบวนการพิมพ์พื้นลึก พื้นฉลุลายผ้า และการพิมพ์ไร้แรงกด หน่วยที่ 1-7. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 1-4. มหาวิทยาลัยสุโขทัธรรมาธิราช, 2539
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 5-10. มหาวิทยาลัยสุโขทัธรรมาธิราช, 2539
- ระบบพิมพ์แบบต่างๆ และการนำไปใช้งาน. รศ.ดร.อรัญ หาญสืบสาย, 2548
- เทคโนโลยีการพิมพ์ ความก้าวหน้าและการนำไปใช้งาน. อรัญ หาญสืบสาย. 2557.
ไม่มี
ไม่มี
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
1.   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.   ผลการเรียนของนักศึกษา
3.   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1.   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1.  การทวนสอบการให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2.   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1.   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2.   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ