การสัมมนาภาษาอังกฤษ

Seminar in English

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ในหัวข้อที่สนใจ นำมาสรุปและนำเสนอในรูปแบบของการสัมมนา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านภาษาในการสัมมนาเชิงวิชาการ ฝึกการใช้สำนวนภาษาอังกฤษ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้การนำเสนอผลงาน และการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ
การค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลในหัวข้อที่สนใจ นำมาสรุปและนำเสนอในรูปแบบของ การสัมมนา
การศึกษาด้วยตนเองสัปดาห์ ละ 4 ชั่วโมงรวมตลอดภาค 60 ชั่วโมง
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่ง ข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและ สม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.1 การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้จากการค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปและนำเสนอข้อมูลในหัวข้อที่สนใจ กับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบของการสัมมนา
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาสัมมนาในชั้นเรียน
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.1 การวิเคราะห์บริบทจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้านการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการสัมมนาเชิงวิชาการ
3.2.1 ให้นักศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
3.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสัมมนาเชิงวิชาการ
3.2.2 ให้นักศึกษาระดมความคิดเป็นกลุ่ม เพื่อแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะให้แก่กัน
3.3.1 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การค้นคว้าและการนำเสนอผลงานการค้นคว้า
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการทำงานเป็นทีม และการแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการทำงานได้อย่างเหมาะสม
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และช่วยกันระดมความคิดในการฝึกสัมมนาในชั้นเรียน
4.3.1 ประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อเป็นเครื่องมือในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
 
5.2.1 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้สื่อและเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสืบค้น 5.2.2 ให้นักศึกษาฝึกใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอเชิงวิชาการ
 
5.3.1 ผลการฝึกจัดทำและใช้สื่อเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอของนักศึกษา
5.3.2 ผลจากการค้นคว้าข้อมูล และศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานโดยนาองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
6.1.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของธุรกิจ นามาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
6.1.5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
6.2.1 สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
6.2.2 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง
6.2.3 สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน ฝึกงานทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย และฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา
6.3.1 งานที่ได้รับมอบหมายผลงาน หรือการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักศึกษา
6.3.2 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงตรอเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้ มีความรู้และเข้าใจในสาระสําคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผนการจัด การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดําเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่หลากหลาย มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งมีความเข้าใจ ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น รู้ เข้าใจ และสนใจที่จะพัฒนาความรู้ ความชํานาญในการใช้ภาษาอย่างต่อเนื่อง สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินข้อมูลจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการ ความรู้และประสบการณ์ มาใชใน้การพัฒนาตนเองและสังคม สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการได มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีม มีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม การแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อ ต่อการแก้ไขปัญหาของทีม ีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นํา และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม สามารถอธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสาร และเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนําเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค สามารถอธิบายและสรางความเขาใจ โดยใชรูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสาร และเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนําเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค สามารถปฏิบัติงานโดยนําองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตรที่ได้ศึกษาได้อย่าง เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็น แนวทางในการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของธุรกิจ นํามาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการ ได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
1 BOAEC111 การสัมมนาภาษาอังกฤษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค 9 15%
2 สอบปลายภาค 17 15%
3 ฝึกปฏิบัติสัมมนา นำเสนอลการค้นตว้า ครั้งที่ 1 4-6 15%
4 ฝึกปฏิบัติสัมมนา นำเสนอผลการค้นคว้า ครั้งที่ 2 7-10 15%
5 ฝึกปฏิบัติสัมมนา นำเสนอผลารค้นคว้า ครั้งที่ 3 11-14 15%
6 จัดโครงการสัมมนา 15-16 15%
7 งานที่มอบหมายและจิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประอบการสอนรายวิชาสัมมนาภาษาอังกฤษ
 
จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ. การประชุม การสัมมนา. สืบค้นจาก http://hq.prd.go.th/plan/ewt_dl_link.php?nid=1985&filename=index
สมชาย สหนิบุตร. การจัดการสัมมนา: องค์ประกอบการจัดสัมมนา. สไลด์ประกอบการสอน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฏร์ธานี
อภิญญา กีรติสุวคนธ์. การจัดประชุมสัมมนา. สืบค้นจาก http://www.svc.ac.th/uploads/File/Academy/Apinya.pdf .
 
Oral Presentation Skills: A Practical Guide. C. STORZ and the English language teachers of the Institut national de télécommunications, EVRY FRANCE. Retrieved from http://people.engr.ncsu.edu/txie/publications/oral_presentation_skills.pdf.
 
เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความรู้และงานวิจัยในสาขาวิชาภาษาอังกฤษหรือการสอน วิชาภาษาอังกฤษ
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชาและหัวหน้าสาขา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 จัดปรับเนื้อหาบทเรียนให้กระชับและเรียงลำดับเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ง่ายขึ้น
3.2 จัดปรับเวลาในการสอนแต่ละบทเรียนให้เหมาะสมมากขึ้น
3.3 จัดปรับกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีความน่าสนใจมากขึ้น
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา จากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก ผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้า สาขาวิชาหรือคณะกรรมการประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนน พฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและ รายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากประสบการณ์ของอาจารย์