ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

English for Business Communication

เพื่อฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจ ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน ในการติดต่อธุรกิจ เช่น การใช้โทรศัพท์ติดต่อธุรกิจ การสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน การเขียนจดหมายธุรกิจ เช่น จดหมายสมัครงาน จดหมายสอบถามประวัติส่วนตัวเพื่อการสมัครงาน (E-Resume) รวมทั้งการเขียนบันทึกข้อความ และจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (E-Mail)
1. เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม รู้จักและเข้าใจตนเอง สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายและบุคลิกภาพ มีวินัย กล้าแสดงออก มีจิตสาธารณะและสามารถทำงานเป็นหมู่คณะ 2. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะด้านภาษา สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ถูกต้องและนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะทางปัญญา มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างเป็นระบบ 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง รู้เท่าทันเหตุการณ์และสามารถนำความรู้ ไปใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข 5. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ วัฒนธรรม ความเป็นไทย อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และสามารถดำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจ ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน ในการติดต่อธุรกิจ เช่น การใช้โทรศัพท์ติดต่อธุรกิจ การสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน การเขียนจดหมายธุรกิจ เช่น จดหมายสมัครงาน จดหมายสอบถามประวัติส่วนตัวเพื่อการสมัครงาน (E-Resume) รวมทั้งการเขียนบันทึกข้อความ และจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (E-Mail)
- อาจารย์ประจำรายวิชา กำหนดเวลาในการให้คำปรึกษา - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ
- การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอและตรงต่อเวลา - การส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน - การเข้าร่วมกิจกรรมซึ่งมหาวิทยาลัยฯ คณะฯ สโมสรนักศึกษาฯ สาขาฯ หลักสูตรฯ และชมรมได้จัด
- การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอและตรงต่อเวลา - การส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน - การเข้าร่วมกิจกรรมซึ่งมหาวิทยาลัยฯ คณะฯ สโมสรนักศึกษาฯ สาขาฯ หลักสูตรฯ และชมรมได้จัด
 
- ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาความรู้จากเนื้อหาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วทำกิจกรรมประกอบเนื้อหาตามที่กำหนดในบทเรียน การประยุกต์ใช้ความรู้โดยร่วมกลุ่มอภิปรายคำตอบและระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด ศึกษาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีต่างๆเช่น แบบฝึกหัดออนไลน์จากเว็บไซต์ต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาโดยการแสดงบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จริง การทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน
- ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาความรู้จากเนื้อหาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วทำกิจกรรมประกอบเนื้อหาตามที่กำหนดในบทเรียน การประยุกต์ใช้ความรู้โดยร่วมกลุ่มอภิปรายคำตอบและระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด ศึกษาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีต่างๆเช่น แบบฝึกหัดออนไลน์จากเว็บไซต์ต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาโดยการแสดงบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จริง การทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน
 
- ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาความรู้จากเนื้อหาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วทำกิจกรรมประกอบเนื้อหาตามที่กำหนดในบทเรียน การประยุกต์ใช้ความรู้โดยร่วมกลุ่มอภิปรายคำตอบและระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด ศึกษาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีต่างๆเช่น แบบฝึกหัดออนไลน์จากเว็บไซต์ต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาโดยการแสดงบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จริง การทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน
 
ให้นักศึกษาฝึกแก้ไขปัญหาการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในสถานการณ์การสื่อสาร ตามเงื่อนไขทางวัฒนธรรมที่กำหนด ทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อย ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อย เพื่อเสนอแนะวิธีการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ตามบริบทของวัฒนธรรมเฉพาะที่กำหนดในกรณีศึกษา จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
- บทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง - การทำกิจกรรมในชั้นเรียนตลอดจนการแก้ไขปัญหาในบริบทต่างๆ - การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน - การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาผู้เรียนให้มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีทั้งต่ออาจารย์ผู้สอนเพื่อนร่วมชั้นเรียนสังคมภายนอกชั้นเรียน และกลุ่มสังคมอื่น ๆ เพื่อให้นักศึกษาเกิดความตระหนักรู้และมีความเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของกลุ่มสังคมต่าง ๆ รู้แนวทางการปฏิบัติตนตามมารยาทสังคมที่เหมาะสมกับบริบทของกลุ่มสังคมเฉพาะต่าง ๆ รวมถึงส่งเสริมการนำความรู้นั้นมาช่วยเหลือสังคมในสถานการณ์การสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
- ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติและการวางตนให้เหมาะสมกับกาลเทศะของแต่ละวัฒนธรรม - จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียนและกระตุ้นให้นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถเข้าร่วมกลุ่ม ได้อย่างสร้างสรรค์ - ทำแบบฝึกหัดนอกชั้นเรียน ตลอดจนงานมอบหมายโดยกำหนดให้นักศึกษาแสวงหาความรู้จากการ ค้นคว้าหรือสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มวัฒนธรรมที่มีแตกต่างกัน
- การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน - แบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน - การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง ตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การสื่อสารเฉพาะ ตามบริบทของวัฒนธรรมสากล
 
- นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเช่น การใช้ e-mail - นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมด้วยตนเองนอกชั้นเรียน ผ่านทางบทเรียนออนไลน์หรือเว็บไซต์ต่างๆ - นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนองาน
 
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าข้อมูล - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน - การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ
เกณฑ์คะแนนปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 BBABA739 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2-5 ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค 9, 17 25%, 25%
2 1-5 ทดสอบย่อย กิจกรรม งานมอบหมายและการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1-5 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
Watcharaporn Nimnual. 2006. Business Correspondence. Triple Education. Sucharat Rimkeeratikul. 2005 English for Work. Thammasat University Press. Richard, Andrew and Greg. 2012. English for Work 13031004. Cengage Learning Asia Pte Ltd.
เอกสาร สื่อมัลติมีเดีย เวบไซด์ ที่เกี่ยวข้อง
https://www.youtube.com/watch?v=HVK-xbdddhA
- การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา - ให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
 
- สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน - สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน - ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา - ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
- ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียน - สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม - สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
 
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม โดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้า หรือไม่มีการพัฒนา จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้น หรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
- ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ตามที่ได้ทดสอบไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก - มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ และความน่าสนใจ - ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลาย และสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียน ตามที่ได้สำรวจไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก - ปรับปรุงเนื้อหาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษา และของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี