ภูมิอากาศพืชและการจัดการน้ำ

Plant Climate and Water Management

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 .เข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ของภูมิอากาศ ดิน และน้ำในการผลิตพืช
1.2 จัดทำการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับภูมิอากาศ ดิน น้ำและพืช
1.3 วิเคราะห์และสังเคราะห์เกี่ยวกับหลักการให้น้ำแก่พืช
1.4 ปฏิบัติการให้น้ำแก่พืช
เพื่อดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับภูมิอากาศและน้ำในการผลิตพืช  ความสัมพันธ์ระหว่าง ภูมิอากาศ ดิน น้ำและพืช  ระบบชลประทานในการผลิตพืชและการประเมิน ประสิทธิภาพการใช้น้ำในการผลิตพืช  The study and practice of climate and water in crops production,   the relationship between climate, soil, water and plants, irrigation systems, and evaluation of water application efficiency in crops production
สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง วัน พุธ  เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณ
มีการบรรยายเนื้อหาและ ฝึกนักศึกษาในการมีวินัย ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบตนเองสอดแทรกเนื้อหาการรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การอภิปรายผล การตอบคำถาม) ประเมินจากพฤติกรรมของงานที่ได้รับมอบหมาย(ความรับผิดชอบ และกาพฤติกรรมในสังคม)
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
2.2 มีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อม 
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย 2 การนำเสนอ การตอบคำถาม
3.1. สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่าง มีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน น ามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่าง สมำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ใน การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
การอภิปรายเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มา หรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขปัญหาที่กำหนด และ ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
ประเมินจากผลงาน การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
4.1.  ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก  อดทน  สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความ ถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต รับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.2  มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ ห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และ สาธารณสมบัติ ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้       มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป  มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะ ของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนองานในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากการปฏิบัติในงานโครงการกิจกรรมทีมอบหมาย
ประเมินจากการดำเนินงานโครงการกิจกรรม เทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือทักษะการวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 2
1 BSCAG112 ภูมิอากาศพืชและการจัดการน้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 1-15 15%
2 ความรู้ 1.งานที่ปฏิบัติตามสภาพจริงที่ต้องบูรณาการความรู้จากศาสตร์ต่างๆ 2.รายงานทางวิชาการ 3.การดำเนินงาน 1-15 60%
3 ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ฯ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ 1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการดำเนินงาน 2.ความสมบูรณ์ของข้อมูลที่รายงานและการอ้างอิงที่ถูกต้อง 3.การนำเสนองาน 1-15 25%
บุญมา ป้านประดิษฐ์. (2546). หลักการชลประทาน: ทฤษฎีและการประยุกต์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน.
ธีรยุทธ เกิดไทย. (2560). อุตุนิยมวิทยาการเกษตร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร.
ข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา
1.กลยุทธ์ การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา      1.1 ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทางด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชาโดยการสัมภาษณ์      1.2 ประเมินการจัดการเรียนการสอนรายวิชาโดยใช้แบบสอบถามของมหาวิทยาลัย
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน :พิจารณาจากผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
พบนักศึกษาให้นักศึกษานำเสนอโครงร่างและปรับเพื่อดำเนินงานให้คำแนะนำนักศึกษา การเขียนอ้างอิงโดยจัดอาจารย์ให้คำแนะนำตามสายงาน
     - ทวนสอบจากการวัดผลการเรียนรู้ที่กำหนดในหมวดที่4และ5(2)      - ทวนสอบจากผลงานของนักศึกษาทั้งหมด
  - แจกคู่มือและอธิบายให้กับนักศึกษาทั้งห้อง รายกลุ่มและรายบุคคล