จิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน

Psychology for Living and Work

1.1 มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิต 1.2 มีความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการอารมณ์ ความเครียดและสุขภาพจิต 1.3 มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง 1.4 มีความเข้าใจเกี่ยวกับแรงจูงใจในการเรียนรู้และการทำงาน สัมพันธภาพในการทำงาน และการ
2.1 เพื่อให้เนื้อหารายวิชามีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 2.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับตนเองและผู้อื่น อันจะนำไปสู่การยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล การปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข 2.3 เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยในการสร้างบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีทั้งความรู้ ทักษะวิชาชีพ และทักษะทางสังคม รวมทั้งสามารถนำเอาความรู้เชิงจิตวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตและการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิต การจัดการอารมณ์ ความเครียดและสุขภาพจิต การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง แรงจูงใจในการเรียนรู้และการทำงาน สัมพันธภาพในการทำงาน การบริหารความขัดแย้ง ตลอดจนการปรับตัวในสังคมและการทำงาน เพื่อที่จะสามารถใช้ชีวิตในสังคมและการประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุข Study basic knowledge in Psychology for living; emotional management; stress and mental health; self-understanding and self-esteem, motivation to learn and work; human relation in the workplace; conflict management, and adjustment to work and live in a society happily
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาที่ห้องพักอาจารย์แผนกสังคมศาสตร์ ชั้น 2 อาคารศึกษาทั่วไป อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
   1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม    1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ    1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม    1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน 1.2.2 ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนและส่งงานให้ตรงเวลา 1.2.3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3.1. การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 1.3.2. การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมนอกสถานที่ 1.3.3. การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา 1.3.4. การส่งรายงานตรงเวลา 1.3.5. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
  2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา   2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา   2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1. กรณีศึกษา 2.2.2. บทบาทสมมติ 2.2.3. แบบฝึกหัดในชั้นเรียน 2.2.4. กิจกรรมกลุ่ม 2.2.5. อภิปราย 2.2.6. เรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน 2.2.7. การทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา
2.3.1. การวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและกรณีศึกษา 2.3.2. การวิเคราะห์บทความเชิงจิตวิทยา  2.3.3. การนำเสนอผลงาน  2.3.4. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในและนอกชั้นเรียน  2.3.5. การอภิปรายและทำงานกลุ่ม  2.3.6. โครงงาน  2.3.7. การสอบ
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1. กรณีศึกษา
3.2.2. บทบาทสมมติ 3.2.3. แบบฝึกหัดในชั้นเรียน 3.2.4. กิจกรรมกลุ่ม 3.2.5. อภิปราย 3.2.6. เรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน 3.2.7. การทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา
 
3.3.1. การวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและกรณีศึกษา 3.3.2. การวิเคราะห์บทความเชิงจิตวิทยา 3.3.3. การนำเสนอผลงาน 3.3.4. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในและนอกชั้นเรียน  3.3.5. การอภิปรายและทำงานกลุ่ม 3.3.6. โครงงาน 3.3.7. การสอบ
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1. เรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน 4.2.2. แบบฝึกหัดในชั้นเรียน 4.2.3. กิจกรรมกลุ่ม 4.2.4. การทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา
4.3.1. การวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและกรณีศึกษา 4.3.2. การวิเคราะห์บทความเชิงจิตวิทยา 4.3.3. การนำเสนอผลงาน 4.3.4. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในและนอกชั้นเรียน 4.3.5. การอภิปรายและทำงานกลุ่ม 4.3.6. โครงงาน 4.3.7. การสอบ
  5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม   5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม   5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1. กรณีศึกษา 5.2.2. แบบฝึกหัดในชั้นเรียน 5.2.3. กิจกรรมกลุ่ม 5.2.4. เรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน 5.2.5. การทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา
5.3.1. การวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและกรณีศึกษา 5.3.2. การวิเคราะห์บทความเชิงจิตวิทยา 5.3.3. การนำเสนอผลงาน 5.3.4. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในและนอกชั้นเรียน 5.3.5. การอภิปรายและทำงานกลุ่ม 5.3.6. โครงงาน 5.3.7. การสอบ
 
ความรับผิดชอบ
จิตอาสา
ตรงต่อเวลา
ความมีวินัย
 
พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน
งานที่ได้รับมอบหมายและการทำงานเป็นทีม
กระบวนการมีส่วนร่วมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
สังเกตพฤติกรรมการเรียน
ตรวจสอบผลงาน
กระบวนการมีส่วนร่วม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5 ด้านทักษะการวเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1 1 1 2 2
1 GEBSO106 จิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2,3.1,3.2 งานรายบุคคลครั้งที่ 1 5 5%
2 8.6 งานรายบุคคลครั้งที่ 2 13 5%
3 4 งานกลุ่มครั้งที่ 1 7 10%
4 2.2,3.1.3.2,3.3,5.1,5.2,6.8,9.5 งานรายบุคคลครั้งที่ 3 14 10%
5 7.5 งานกลุ่มครั้งที่ื 2 16 10%
6 .1,2.1,3.2,3.3,5.2,6.8,9.5 จิตพิสัย 1-18 10%
7 สอบกลางภาค 8 25%
8 สอบปลายภาค 17 25%
วิไลวรรณ  ศรีสงคราม และคณะ.(2549) จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ:ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น
คณาจารย์ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.(2552) เรไร  ธราวิจิตรกุล.(2544). จิตวิทยาทั่วไป.เอกสารประกอบการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่
ชัยวัฒน์ วงศ์อาษา. (2556). การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem). สืบค้น 27 มิถุนายน 2561,  จาก ns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Selfteem.pdf ดวงกมล ทองอยู่. (2557). แนวทางการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของวัยรุ่น ตามทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 4(2), 179-190. ติยะบุตร, ช่อลดา. (2556). จิตวิทยาธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ธนารัฐ มีสวย, อ้อมเดือน สดมณี, และสุภาพร ธนะชานันท์. (2553). การศึกษาการเห็นคุณค่าแท้ในตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล: กรณีศึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 2(1), 65-77. Heffernan, M., Quinn Griffin, M. T., McNulty, S. R., & Fitzpatrick, J. J. (2010). Self-compassion and emotional intelligence in nurses. International Journal of Nursing Practice, 16(4), 366–373. http://doi.org/10.1111/j.1440-172X.2010. 01853.x Merriam-Webster. (2018). Retrieved from: https://www.merriam-webster.com/dictionary/conflict Neff, K. D. (2003b). The Development and Validation of a Scale to Measure Self-Compassion. Self and Identity, 2, 223–250. http://doi.org/10.1080/15298860390 209035 Neff, K. D. (2011a). Self-Compassion, Self-Esteem, and Well-Being. Social and Personality Psychology Compass, 1, 1–12. Neff, K. D., & McGehee, P. (2010). Self-compassion and Psychological Resilience Among Adolescents and Young Adults. Self and Identity, 9(3), 225–240. http://doi.org/10.1080/15298860902979307 Oxford Dictionary. (2018). Retrieved from: https://en.oxforddictionaries.com/definition/conflict
1.1 ผลการประเมินของนักศึกษาผ่านระบบ Internet ของมหาวิทยาลัย 1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของอาจารย์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอนรายวิชาจิตวิทยา
2.2 หัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าหลักสูตร และอาจารย์ประจำหลักสูตร 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 นำผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการสอน ผลการประชุมร่วมมาทบทวนและปรับปรุงการสอน
 3.2 ค้นคว้าหาวิธีสอนที่หลากหลายจากแหล่งข้อมูลต่างๆ  3.3 เข้าร่วมประชุม เพื่อเรียนรู้เทคนิคการสอนและการวิจัยใหม่ๆ  3.4 การปรึกษาและขอคำแนะนำจากอาจารย์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอนรายวิชาจิตวิทยา  3.5 วิจัยในชั้นเรียน
4.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ 4.2 ประชุมผู้สอนรายวิชาจิตวิทยา 4.3 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม 4.4 การแจ้งผลสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ 4.5   การออกข้อสอบ โดยผ่านความเห็นชอบจากหัวหน้าแผนกวิชาสังคมศาสตร์
5.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ 5.2 ประชุมผู้สอนรายวิชาจิตวิทยา 5.3 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม 5.4 ข้อเสนอแนะจากหัวหน้าแผนกวิชาสังคมศาสตร์ 5.5 ผลการประเมินของนักศึกษา