การแปลภาษาอังกฤษทางธุรกิจเบื้องต้น

Introduction to Business English Translation

 1.       เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีการแปลข้อความจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษเบื้องต้น           2.  เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการแปลประโยค และบทความสั้นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทความและเอกสารทางธุรกิจภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
เพื่อให้เนื้อหามีความสมบูรณ์และเหมาะสมกับเหตุการณ์ปัจจุบันซึ่งจะเป็นประโยชน์กับผู้เรียนมากยิ่งขึ้น 
ศึกษาหลักการแปลทางธุรกิจเบื้องต้น ได้แก่ แบบฟอร์มและเอกสารทางราชการ และข้อความหรือบทความทางธุรกิจสั้นๆ ทั้งจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
-    อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านกลุ่มสังคมออนไลน์ ( Facebook และ Line)   - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)  แก้ไข
2.  มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
5.  มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
2.  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 3.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4.  กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
3)  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 4)  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน

7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน                     การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน  

 
1.  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
6.  การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
6.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
6.  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
 
 

2.  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
 
พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
3.  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา 3.  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
3.  พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา  การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะคุณธรรมจริยธรรม 2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 5. มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 6. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 3. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BBABA709 การแปลภาษาอังกฤษทางธุรกิจเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1, 3.1.1 2.1.2 4.1.6 งานแปลที่มอบหมาย การทำแบบฝึกหัด การส่งงานที่มอบหมาย การทำแบบฝึก ตลอดภาคการศึกษา 30%
2 2.1.1 , 2.1.2 5.1.3 สอบกลางภาค 8 15%
3 2.1.1, 2.1.2 5.1.3 สอบปลายภาค 16 15%
4 1.1.2 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 2.1.1, 3.1.1 2.1.2 4.1.6 การทดสอบย่อย 3, 5, 7,13,15 30%
จริยา ปนทวังกูร. (2551). การเขียนบทโฆษณา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพา เทพอัครพงศ์. (2549). การแปลเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรียา อุนรัตน์. (2548). การแปลอังกฤษเป็นไทย แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ดวงกมล (2520) จำกัด.
นเรศ สุรสิทธิ์. (2562). ตีแตก Grammar. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอส.เพรส.จำกัด
พิมพันธุ์ เวสสะโกศล. (2562). การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เลิศ เกสรคำ. (2560). ไวยากรณ์และเทคนิคภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, บจม.
วรัชญ์ ครุจิต. (2553). การแปลภาษาอังกฤษเพื่องานนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
วรนาถ วิมลเฉลา. (2529). คู่มือสอนแปล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถาพร ฉันท์ประสูตร. (2560). เคล็ดลับวิชาแปล. นนทบุรี: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
สัญฉวี สายบัว. (2560). หลักการแปล (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุพรรณี ปิ่นมณี. (2555). แปลได้ แปลดี : ทักษะการแปลสำหรับผู้เรียนในระดับมหาวิทยาลัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุพรรณี ปิ่นมณี. (2561). แปลผิด แปลถูก: คัมภีร์การแปลยุคใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย.
สุพรรณี ปิ่นมณี. (2562). ภาษา วัฒนธรรม กับการแปล: ไทย-อังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย.
สุมน อริยปิติพันธ์. (2548). หลักการแปลภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อลัน ดัฟ. (2547). กิจกรรมการแปล: มิติใหม่การสอนภาษา. (จินดา ศรีรัตนสมบุญ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง.
 
 
จิรัชชยา บุญประสงค์, และรสสุคนธ์ สงคง. (2560). ข้อผิดพลาดที่พบในป้ายที่แปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษในกรุงเทพมหานครและชลบุรี. การประชุมวิชากาารระดับชาติ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน” ครั้งที่5 (น.584) สกลนคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุรเดช บุณยวณิชย์. (2546). การวิเคราะห์ปัญหาทางโครงสร้างของภาษาอังกฤษบางประเด็นในการแปลภาษาไทยเป็นอังกฤษของนิสิตปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยบูรพา.กรุงเทพมหานคร: ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย.
อัจฉรา ไล่ศัตรูไกล. (2555). จุดมุ่งหมาย หลักการและวิธีแปล. ใน เอกสารประกอบการสอน รายวิชา EN 322 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Cotton, Falvey and Kent. (2016). Market leader. Elementary Business English. (3rd edition) Extra Course book…..Pearson Education Limited.
Larson, M. L. (1998). Meaning-based translation: A guide to cross-language equivalence (2nd edition). Boston: University Press of America.
Martin Hewings. (2015). Advanced Grammar in Use. (3rd edition). Cambridge: Cambridge University Press.
Michael McCarthy et al. (2009). Grammar for Business. Cambridge: Cambridge University Press.
Newmark Peter. (1995). A textbook of Translation. London: Phoenix ELT.
Raymond Murphy. (2012). Essential Grammar in Use. Cambridge: Cambridge University Press.
Micheal Swan. (2016). Practical English Usage. (4rd edition). Oxford: Oxford University Press
Oxford University. (2010). Oxford advanced learner’s dictionary: international student’s edition. 8th ed. New Delhi, India: Oxford university press.
http:// www.royin.go.th/ http://www.seventranslation.com/ http://www.wikipedia.com/ หนึ่งฤทัย ลาที. (2556). การวิเคราะห์การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยจากหนังสือเรื่องแอตแลนติก มหาสมุทรข้ามกาลเวลา. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ รูฮายาตี อารง, ซูรัยยา อับดุลรอเซะ, วารุณี ซาเม๊าะ, อารีฟะฮ์ เจะดาโอะ, ฮาสมะ เต๊ะ, และฟารีดา กิตติวิโรจน์. (2561). การวิเคราะห์เทคนิคและข้อผิดพลาดจากการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: กรณีป้ายกรมทางหลวงและป้ายสถานที่สำคัญต่างๆในเขตอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส . นราธิวาส:มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. สมจิต จิระนันทิพรและปรีมา มัลลิกะมาส. (2559). ปัญหาการแปลหน่วยสร้างกริยาเรียงภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทย. วารสารอักษรศาสตร์, 45 (2), 205-262.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3  ข้อเสนอแนะผ่านสื่อสังคมออนไลน์กลุ่ม ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์ระหว่างการสอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์แก่สังคม ชุมชน สถานประกอบการ
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
                4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ