การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Management Information Technology

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานเกี่ยวกับบทบาท องค์ประกอบ ประโยชน์ในการใช้งานระบบสารสนเทศในองค์กร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน การสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่ายและกฎหมายเกี่ยวกับการใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ โครงสร้างของระบบสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดด้านระบบสารสนเทศ การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง ปัญญาประดิษฐ์ ระบบผู้เชี่ยวชาญ และระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ ระบบวางแผนทรัพยากรองค์การ การพัฒนาระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีและการจัดการความรู้ จริยธรรมและการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้
3.1 วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 17.00 น. ของทุกสัปดาห์ ห้องพักอาจารย์ระบบสารสนเทศฯ โทร. 082-1859680
1.1ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
—1.2มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.4เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
—1.5เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.6สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.7มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)

การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)

3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
—2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
™2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
—2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)

การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)

3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
™3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
™3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)

การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)

3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
™4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
™4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
™4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
™4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)

การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)

3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
™5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
™5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1.ใช้ Power point
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล