การค้าในภูมิภาคอาเซียน

ASEAN Trade

1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย และความสำคัญของวิชาการค้าในกลุ่มภูมิภาคอาเซียน         

เพื่อให้เข้าใจถึงบทบาทของระบบเศรษฐกิจการค้าและการลงทุน เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปวิเราะห์ถึงแนวโน้มเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียน ด้านพลังงาน ด้านการเกษตร ด้านอาหาร อุตสาหกรรมยานยนตื์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการท่องเที่ยว  เพื่อนำไปใช้สำหรับการประกอบธุรกิจภายใต้เขตการค้าเสรีในกลุ่มอาเซียน เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์กับสถานการณ์ปัจจุบันได้
หลักสูตรบริหารธุรกิจ ได้จัดทำขึ้นเพื่อผลิตบัณฑิตทางด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ เพื่อรองรับความต้องการของตลาดแรงงานและการแข่งขันของโลก ดยในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน อีกทั้งพลวัตที่เคลื่อนเข้าสู่ยุคของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การดำเนินงานทางธุรกิจและในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อให้องค์กรลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานทุกหน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ดังนั้น หลักสูตรนี้จึงจัดทำขึ้นเพื่อผลิตบัณฑิตทางด้านบริหารธุรกิจ รองรับความต้องการในงานด้านบริหารธุรกิจ ตลาดแรงงานและสถานประกอบการต่างๆ โดยเน้นให้บัณฑิตคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสม ซึ่งผลที่คาดว่าจะได้รับ ทำให้ได้บัณฑิตที่มีคุณสมบัติตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และพัฒนาด้านการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ศึกษารายละเอียดด้านเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน ระบบเศรษฐกิจการค้า การลงทุน การศึกษาดูงาน และอภิปรายรายละเอียดเรื่องของแนวโน้มเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียน ด้านพลังงาน ด้านการเกษตรด้านอาหาร อุตสาหกรรมยานยนต์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการท่องที่ยว รวมถึงเขตการค้าเสรีในกลุ่มอาเซียน
วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 18.00 น. ของทุกสัปดาห์ ห้อง BA203  อาคารรัชมังคลานครินทร์    
           โทร. 081-4521585
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรม
š1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
š1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
š1.3 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
1. การสอนแบบยกตัวอย่างกรณีศึกษา
2. การสอนแบบสนทนาโต้ตอบ
3. การมอบหมายงานให้ทำเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
4.การสอนฝึกปฏิบัติเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
1. มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย ร้อยละ 85 ปฏิบัติตามกฎและสำเร็จตามกำหนด
2. การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
3. การสังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน ร้อยละ 80 เข้าตรงเวลา
4. การแสดงความคิดเห็นหรือการตอบคำถามอย่างเหมาะสมถูกต้อง
2.  ด้านความรู้
 š2.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
˜2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
š2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
1. การสอนฝึกปฏิบัติเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
2. การมอบหมายงานให้รายงานบันทึกขั้นตอนและผลการปฏิบัติงาน รวมถึงอุปสรรคปัญหาที่เกิดขั้นพร้อมการแก้ไข
3. การสอนแบบสนทนาโต้ตอบ
4. การอธิบายและการสาธิต
1. ผลการปฏิบัติงาน
2. การเขียนรายงานบันทึกผลการปฏิบัติงาน
3. การสัมภาษณ์
4. การสังเกตพฤติกรรมในการทำปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
3.  ด้านทักษะทางปัญญา
˜3.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
š3.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
˜3.3 คิดอย่างมีวิจารยาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้ จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป  

 
1. การสอนฝึกปฏิบัติเป็นรายกลุ่ม
2. การมอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่ม
1. การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนและกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม
2. การสัมภาษณ์
3. การสังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติงานเป็นรายกลุ่ม
4. ผลการปฏิบัติงานและคุณภาพ
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
˜4.1  มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
š4.2  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนฝึกปฏิบัติเป็นรายกลุ่ม
2. การมอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่ม
 
1. การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนและกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม
2. การสัมภาษณ์
3. การสังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติงานเป็นรายกลุ่ม
4. ผลการปฏิบัติงานและคุณภาพ
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
˜5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
š5.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของการสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
š5.6 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนันการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถใช้สารสนเทศ
1. การสอนฝึกปฏิบัติงานการใช้เครื่องมือพื้นฐานและเทคโนโลยีเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
2. การมอบหมายงานให้ปฏิบัติ โดยให้มีการศึกษา สืบค้น วิเคราะห์ เพื่อนำความรู้ไปใช้ และ บันทึกรายงานผลเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
1. การเขียนรายงานบันทึกผลการปฏิบัติงาน
2. สังเกตพฤติกรรมการเลือกใช้วิธีการหรือทักษะในการใช้เครื่องมือพื้นฐานหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่องานที่มอบหมาย
3. ผลการปฏิบัติงานและคุณภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 2.1, 2.2, 2.3. 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 การสอบกลางภาค บทที่ 1-8 9 30%
2 1.2, 2.1, 2.2, 2.3. 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 การสอบปลายภาค บทที่ 9-16 17 30%
3 1.2, 2.1, 2.2, 2.3. 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 งานที่มอบหมาย (แบบฝึกหัด) งานที่มอบหมาย (รายงาน) 1-8, 10-17 20% 10%
4 1.2, 2.1, 2.2, 2.3. 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบในรายวิชา 1-8, 10-17 10%
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การค้าในภูมิภาคอาเซียน
1. คิดอย่างอาเซียน
2.คิดใหม่สู่อากซัยน
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1) การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2) แบบประเมินผู้สอน หรือแบบประเมินรายวิชา 
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยติดตามจากผลการเรียนและพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สัมมนา หรือฝึกอบรม และติดตามความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนากลยุทธ์และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
4.1) อาจารย์ผู้สอนทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการที่มอบหมาย
4.2) มีการพิจารณาความเหมาะสมของการประเมินผล วิธีการให้คะแนน (มคอ.3 หมวด 2-5) ที่สอดคล้องกับหลักสูตร (มคอ.2 หมวด 4) ให้ครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามที่หลักสูตรกำหนด
5.1) ทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและจัดหาอุปกรณ์สื่อการสอนให้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
5.2) การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์