การปรับปรุงพันธุ์พืช

Plant Breeding

 
1.1 มีความรู้ และมีทักษะปฏิบัติ ในด้านการสืบพันธุ์ของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แหล่งกำเหนิดของพืช
1.2 มีความรู้ในด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช และมีทักษะการปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์พืช ทราบขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์พืช
1.3 มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพันธุ์ศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม การปรับปรุงพันธุ์ต้านทานโรคเเละแมลง เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์พืชและการรับรองพันธุ์
1.5 สามารถนำความรู้และทักษะเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์พืชไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชได้
1.6 มีความสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
1.7 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.8 มีเจตคติที่ดีต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
ในการสอนได้ทำการปรับปรุงวิธีการสอน ปรับปรุงสื่อการสอนให้น่าสนใจ ปรับปรุงเนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชาโดยเพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ wed based แทรกงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับวิธีการสืบพันธุ์ของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แหล่งกำเนิดพืช ขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง พันธุ์ศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม การปรับปรุงพันธุ์ต้านทานโรคเเละแมลง เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์พืชและการรับรองพันธุ์
    3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 – 17.00  น. อาคารพืชศาสตร์ 1   โทร 08-99272493
    3.2 ไลน์กลุ่ม : PlantBreeding
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การสอนโดยการกำหนดเงื่อนไขการปฏิบัติตนของนักศึกษาในการเรียน และปลูกฝังให้นักศึกษามีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1) ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ ตรงต่อเวลา และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานกลุ่ม
2) ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการสอบ
3) ประเมินจากการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ด้วยการดับไฟหรือปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกครั้งที่เลิกเรียน
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) การสอนแบบบรรยายเชิงสาธิต
2) การมอบหมายแบบฝึกหัดให้นักศึกษาตามหัวข้อที่เรียน
3) การมอบหมายให้นักศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากหนังสือในห้องสมุดและ/หรือความรู้ทางอินเตอร์เน็ตและจัดทำรายงาน
1) การสังเกตความสนใจ
2) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
3) ประเมินจากการทำแบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย
4) ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย
(1) สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
(2) สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
(3) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
(1) ศึกษาจากกรณีศึกษาทางการเกษตร ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
(2) จัดกลุ่มการอภิปราย ให้ระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลจากความรู้ที่เรียนมา
(3) ให้ฝึกปฏิบัติจริงเพื่อให้รู้อย่างถ่องแท้และรู้จักแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
1) การสังเกตความสนใจ
2) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
3) ประเมินจากการทำแบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย
4) ประเมินผลจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
 
1)  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2)  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4)  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1) จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก
2) มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
1) ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
2. ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานของนักศึกษา
3) ประเมินด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจากการทำงานกลุ่ม
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
1) การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2) การมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดและการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) ประเมินจากทักษะการเขียนรายงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย จากการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดและการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ผ่านทางอินเตอร์เน็ตการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 2) การรายงานผลการทดลอง
 
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG107 การปรับปรุงพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,3 การเข้าชั้นเรียน, การส่งรายงานตรงเวลา, การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน, การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 15
2 2,3,4,5 การสรุปความคิดท้ายคาบเรียน การทำแบบฝึกหัด ทุกสัปดาห์ 20
3 3 การสอบกลางภาค 9 25
4 2,3,4,5 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอ 16 15
5 2,4,5 การสอบปลายภาค 18 25
กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2546.  ปรับปรุงพันธุ์พืช : พื้นฐาน วิธีการ และแนวคิด.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 237 น.     
สุทัศน์  ศรีวัฒนพงศ์. 2552. การปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 259 น.  
ไพศาล   เหล่าสุวรรณ.  2527.  หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช.  คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตหาดใหญ่.  320 น.   
คมสันต์ อำนวยสิทธิ์. ปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน  
นพพร สายัมพร. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 น.          
นิตย์ศรี  แสงเดือน. 2536. พันธุศาสตร์พืช. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัย-เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 315 น.          
ประภา  ศรีพิจิตต์. 2534. เซลล์พันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 254 น.           
พีระศักดิ์   ศรีนิเวศน์. 2525. พันธุศาสตร์ปริมาณที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 179 น.           
ประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษาด้วยการ การจัดกิจกรรมให้นักคึกษาสรุปความคิดรวบยอดที่ได้จากการเรียน เพื่อประเมินความเข้าใจ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษาด้วยการ การจัดกิจกรรมให้นักคึกษาสรุปความคิดรวบยอดที่ได้จากการเรียน เพื่อประเมินความเข้าใจ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และผลการประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการหลักสูตร