เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อาหาร

Food Field Crops Production Technology

1.1 มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญและการใช้ประโยชน์พืชไร่อาหารที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว ฯลฯ
1.2มีความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสรีรวิทยาการเจริญเติบโต เทคโนโลยีการปลูกและดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต สภาวการณ์ตลาดและการจำหน่ายของพืชไร่อาหารที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว ฯลฯ
1.3 มีทักษะในการการการแปรรูปผลผลิตการแปรรูปผลผลิต   พืชไร่อาหารที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว ฯลฯ  
1.4 มีความสามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถเลือกใช้วิธีการและ เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
1.5 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.6 สามารถทำงานเป็นทีม มีจิตใจเอื้ออารีต่อกัน ร่วมกันแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
1.7 มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อาหาร
ในการสอนได้ทำการปรับปรุงวิธีการสอน โดยการให้นักศึกษาเรียนรู้จากสื่อการสอนออนไลน์ หรือวิดิทัศน์ แล้วนำความรู้ที่ได้มาสรุปเป็นแผนภาพความคิด หรือเขียนลำดับขั้นตอนการดำเนินงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในรายวิชามากยิ่งขึ้น ให้นักศึกษาได้ศึกษาดูงานแปลงผลผลิตจริง ได้ลงมือปฏิบัติการแปรรูปผลผลิตพืชไร่อาหารจริง เพื่อให้ทราบความสำคัญ การใช้ประโยชน์ และการแปรรูปผลผลิตพืชไร่อาหารครบวงจร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและการใช้ประโยชน์  สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสรีรวิทยาการเจริญเติบโต เทคโนโลยีการปลูกและดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว  การแปรรูปผลผลิต   สภาวการณ์ตลาดและการจำหน่ายของพืชไร่อาหารที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว ฯลฯ
ต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 8.00 – 16.00  น. อาคารพืชศาสตร์ 1   
กลุ่มไลน์ : Food Field Crops Produc. Tech.
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) การสอนโดยการกำหนดเงื่อนไขการปฏิบัติตนของนักศึกษาในการเรียน
2) ปลูกฝังให้นักศึกษามีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
 
1) ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ ตรงต่อเวลา และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานกลุ่ม
2) ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการสอบ
3) ประเมินจากการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4) ประเมินจากการความมีน้ำใจต่อ เพื่อนร่วมชั้นเรียน และครูอาจารย์ 
 
1) มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องเทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อาหาร อย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการ ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัย
2) มีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการผลิตพืชไร่อาหาร รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษามาใช้ในการผลิตพืชไร่อาหาร
1) การสอนแบบบรรยายเชิงสาธิต
2) การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) การอภิปรายกลุ่ม การมอบหมายให้สรุปความคิดรวบยอดจากที่เรียนหรือการรับชมวิดิทัศน์
3) กำหนดให้หาความรู้เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ตและทำรายงานส่ง
4) การให้นักศึกษาหาได้ลงมือปฏิบัติจริง
1) การสังเกตความสนใจ
2) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
3) ประเมินจากสรุปความคิดรวบยอดจากที่เรียนหรือการรับชมวิดิทัศน์
4) ประเมินผลการปฏิบัติงาน
1) มีความรู้ ความเข้าใจ ในเทคโลโลยีการผลิตพืชไร่อาหาร ที่เรียนอย่างถ่องแท้ เป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2) มีความรอบรู้ ในหลายสาขาวิชา รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในการผลิตพืชไร่อาหารได้
1) ศึกษากรณีศึกษา ค้นหา ข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐาน จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 
2) การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มา หรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
3) ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า 
4)  การมอบหมายให้สรุปความคิดรวบยอดจากที่เรียนหรือการรับชมวิดิทัศน์และการนำเสนอผลงาน
1) ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
3) ประเมินจากผลการปฏิบัติงานจริง
1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทสะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติ ได้
1) มอบหมายงานกลุ่มให้รับผิดชอบ
2) การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานศึกษากรณีศึกษาร่วมกันและร่วมกันอภิปราย
1) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2) สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมในการเรียน
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2) การมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งต่างๆ
 
1) ประเมินจากทักษะการเขียนรายงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย จากการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดและการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ผ่านทางอินเตอร์เน็ตการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2) การรายงานผลการทดลอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG142 เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 การเข้าชั้นเรียน, การส่งรายงานตรงเวลา, การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน, การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20
2 2,5 แบบฝึกหัดย่อย หรือการสรุปความคิดรวบยอด ทุกสัปดาห์ 20
3 2,3 การสอบกลางภาค 9 15
4 1, 2,3,4 ผลการปฏิบัติงาน การนำเสนอผลการปฏิบัติงาน/การรายงาน ทุกสัปดาห์ 25
5 2,3 การสอบปลายภาค 17 20
สิรวิชญ์ เฉียบแหลม. 2562. เอกสารประกอบการเรียนการสอนพืชไร่. 72 หน้า.  [On-line] Available :เอกสารประกอบการเรียนการสอนพืชไร่ - ดาวน์โหลดหนังสือ | 1-50 หน้า | PubHTML5, Oct 20, 2021
 
กฤษฏา สัมพันธารักษ์. 2531. พืชไร่. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชจำกัด กรุงเทพมหานคร. 223 หน้า.
เอกสารประกอบการสอน  (power point ประกอบการสอน)
เอกสาร, หนังสือ แหล่งข้อมูลที่มีคำว่า เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อาหาร การเตรียมดิน การให้น้ำพืช เทคโนโลยีการกำจัดโรคและแมลง เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยว เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ และมีระบบการประเมินรายวิชาโดยให้ผู้เรียนประเมินและแสดงความเห็นผ่านการประเมินรายวิชาทางระบบอินเตอร์เน็ต
อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ โดยการสังเกต การตรวจรายงาน และการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยพิจารณาจากความสนใจ ความเข้าใจ และผลการเรียนของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองเมื่อสิ้นภาคการศึกษาเสนอหัวหน้าสาขา
สาขาวิชามีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินการสอน ข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และผลการประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการหลักสูตร