คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี

Mathematics for Accountant

ศึกษาแนวคิดและทฤษฎี คณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชัน สมการ และเมตริกซ์ การหาอนุพันธ์ ประเภทต่าง ๆ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ฟังก์ชันกำลัง และฟังก์ชันลอการิทึม การอินทิเกต มูลค่าปัจจุบันและเงินงวด รวมทั้งตรรกศาสตร์ การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน
สามารถแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และสมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้ สามารถแก้ระบบสมการโดยใช้เมทริกซ์ได้ สามารถแก้สมการฟังก์ชันเลขชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึมได้ สามารถหาค่าลิมิตของฟังก์ชันได้ สามารถหาความต่อเนื่องของฟังก์ชันได้ สามารถหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึมได้  สามารถหาปริพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึมได้ สามารถให้เหตุผลโดยใช้ตรรกศาสตร์ได้  สามารถประยุกต์ความรู้ในตัวอย่างทางบัญชีและการเงินได้
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎี คณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชัน สมการ และเมตริกซ์ การหาอนุพันธ์ ประเภทต่าง ๆ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ฟังก์ชันกำลัง และฟังก์ชันลอการิทึม การอินทิเกต มูลค่าปัจจุบันและเงินงวด รวมทั้งตรรกศาสตร์ การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน
ในคาบกิจกรรม ขึ้นอยู่กับความต้องการของนักศึกษา
1. ไม่ประเมิน 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม 3. สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 4. มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน   อย่างมีคุณธรรม
1. ไม่ประเมิน 2. ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 3. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน 4. การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
 
1. ไม่ประเมิน 2. ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ 3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1. ไม่ประเมิน 2. มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 3. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ 4. สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
 
1. ไม่ประเมิน 2. การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน 3. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงการ 4. การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จากการฝึกงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรมและการศึกษาดูงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
4.2.3.1 ไม่ประเมิน 4.2.3.2 การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ 4.2.3.3    การประเมินผลการเรียนรู้โดยผู้ประกอบการจากสถานการณ์จริง หรือการฝึกงานในองค์กรธุรกิจ 4.2.3.4    การประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต
 
4.3.1.1    สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 4.3.1.2    สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 4.3.1.3    สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
 
4.3.2.1    ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 4.3.2.2    จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา 4.3.2.3    สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
 
4.3.3.1    ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย 4.3.3.2    ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา 4.3.3.3    ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอ                    หน้าชั้นเรียน รวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
 
4.4.1.1    สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4.1.2    มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี 4.4.1.3    มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก              ในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4.4.1.4    มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
 
4.4.2.1    มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่ม และผลัดกันเป็นผู้รายงาน 4.4.2.2    มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดง                     ความคิดเห็น 4.4.2.3    ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่าง ๆ
 
4.4.3.1    ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน 4.4.3.2    ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน 4.4.3.3    สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
 
4.5.1.1    มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 4.5.1.2    สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน 4.5.1.3    สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
 
4.5.2.1    มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข 4.5.2.2    มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ 4.5.2.3    ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอ ในรูปแบบรายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 
4.5.3.1    ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเชิงสถิติและคณิตศาสตร์ 4.5.3.2    ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย และนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 4.5.3.3    ประเมินจากการสอบข้อเขียน 4.5.3.4    ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 4.2 ความรู้ 4.3 ทักษะทางปัญญา 4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 4.1.2.2 ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 4.1.2.3 เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน 4.1.2.4 การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา 4.2.2.2 การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน 4.2.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงการ 4.2.2.4 การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จากการฝึกงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรมและการศึกษาดูงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรม 4.3.1.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 4.3.1.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 4.3.1.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4.4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4.1.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี 4.4.1.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก ในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4.4.1.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง 4.5.2.1 มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข 4.5.2.2 มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ 4.5.2.3 ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอ ในรูปแบบรายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1 BACAC112 คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.3.2 ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2.1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2.1.3.4 ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ ทุกสัปดาห์ 10
2 2.2 ด้านความรู้ 2.2.3.1 การทดสอบย่อย 2.2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.2.3.3 รายงานที่นักศึกษาจัดทำ 2.2.3.4 งานที่ได้มอบหมาย 2.2.3.5 การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน หลังจากจบแต่ละเรื่อง สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 60
3 2.3 ด้านทักษะทางปัญญา 2.3.3.2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่างๆ 2.3.3.3 การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2.3.3.4 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ 10
4 2.4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.3.1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มใน ชั้นเรียน 2.4.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดช่วงเงลา 10
5 2.5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร 2.5.3.2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล 2.5.3.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน 2.5.3.4 จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล 10
คณิตศาสตร์ธุรกิจ (อาภรพันธ์ ว่องไว)
สมการเชิงอนุพันธ์ (พินิจ เพิ่มพงศ์พันธ์)
คณิตศาสตร์ประกันชีวิตเบื้องต้น (ชัยรัตน์ มดนาค)
- แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน เป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินผลการสอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา
- แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน เป็นแบบประเมินที่อาจารย์ผู้สอนในระหว่างภาคการศึกษา และปลายภาคการศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น Google form รวมถึงถามความเห็นนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสอนของนักศึกษา
สอนบรรยาย / ปฏิบัติ / ใช้ทฤษฎีเกมส์ (เพื่อวัดการคิดเชิงระบบ)
ใช้กลไก Review Analyze Apply
Review คือ ทบทวนว่าเราเรียนอะไรมาบ้าง Analyze วิเคราะห์ว่าที่เรียนผู้สอนต้องการให้รู้อะไร  / ทำอะไรได้ Apply ประเมินว่าจะนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร
ภาคการศึกษาที่ผ่านมีการให้ข้อเสนอแนะในเรื่องการทบทวนเนื้อหา โดยการอัดคลิปที่สอนออนไลน์