ภาษาจีนเพื่อการค้า

Chinese for Trading

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1. สื่อสารภาษาจีนตามหัวข้อที่กำหนดให้ได้
2. นาคาศัพท์ที่ศึกษามาใช้ได้อย่างถูกต้อง
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคาศัพท์ทางธุรกิจ
 
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) และแนวการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
1. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้คาศัพท์เบื้องต้นในการเจรจาธุรกิจ การเขียนจดหมายทางธุรกิจ
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ มีจิตสาธารณะและสามารถทางานเป็นหมู่คณะ
1.2 วิธีการสอน
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้ในหลักการความสำคัญ องค์ประกอบของไวยากรณ์ภาษาจีน ศึกษาการใช้ภาษาจีนอย่างเหมาะสมโดยการจาลองสถานการณ์ในห้องเรียน
2.2 วิธีการสอน
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงาน กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับวินัย และพฤติกรรมในการเรียน
2.2.2 สังเกตพฤติกรรมการเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา และการเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.2 ประเมินจากการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทาโครงงานพิเศษและการนาเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 บรรยาย
 
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนาเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
 
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้าของเทคโนโลยี การนาตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนาเสนอรายงาน
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กาหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นาเสนอ พฤติกรรมการทางานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
 
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทารายงาน และนาเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์
5.1.5 ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาสม
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทารายงานโดยเน้นการนาตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. หนังสือ ตารา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
商务汉语 หนังสือภาษาจีนธุรกิจ, สานักพิมพ์อักษรวัฒนา, 2548, รองศาตราจารย์ไป๋ชน มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศปักกิ่ง
หนังสือบทสนทนาในการทางาน, สานักพิมพ์ดวงกมลพับลิชซิ่ง, 2552, Li Shujuan
35 หมวดคาศัพท์เฉพาะภาษาจีนที่ควรรู้, สำนักพิมพ์พงศ์ภรณ์, จิรวรรณ จิรันธร
หนังสือไวยากรณ์จีน, สานักพิมพ์ทฤษฎี, 2547, เสี่ยว อานต้า
หนังสือพจนานุกรมจีน-ไทย, สานักพิมพ์รวมสาส์น, 2537, เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
ไม่มี
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนา
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คาอธิบายศัพท์
 
 
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้
ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย
ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดาเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน
และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ