การผลิตสุกร

Swine Production

    1. รู้สภาพการผลิต ประเภท และพันธุ์สุกร                                                                                                                             
    2. เข้าใจการสืบพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์สุกร                                                                                                 
    3. เข้าใจโรงเรือนและอุปกรณ์ในฟาร์มสุกร                                                                                                  
    4. เข้าใจอาหารและการให้อาหารสุกร การจัดการสุกรตามชีพจักร โรคพยาธิสุกร                              
    5. มีทักษะในการผลิตสุกร                                                                                                                                
    6. มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพการผลิตสุกร
เพื่อเป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 และพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสุกรในปัจจุบัน โดยเฉพาะระบบการผลิตสุกรในทางการค้าซึ่งมีการนำเทคโนโลยี และวิทยาการใหม่ ๆ มาใช้ในการจัดการมากขึ้น
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและสภาพการผลิตสุกรภายในประเทศและต่างประเทศ  ประเภท และพันธุ์สุกร การคัดเลือกและการผสมพันธุ์ การวางผังฟาร์ม โรงเรือนและอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหาร การบริหารและการจัดการฟาร์มสุกร มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร การจัดการของเสีย การสุขาภิบาลและป้องกันโรคพยาธิต่างๆ
จัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ และแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง เวลาราชการ ห้องพักอาจารย์สาขาสัตวศาสตร์ โทร 054-342549 (171) หรือสอบถามจากเพจกลุ่มวิชาการผลิตสุกร
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 1.1.1 1.1.2 ,1.1.3 และ 1.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอน
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาใช้ทำรายงานนั้นต้องมีการอ้างอิงที่มาของ
เจ้าของผลงาน
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4. ไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ  2.1.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ  2.1.2 และ 2.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
- บรรยายหลักทฤษฎีการผลิตสุกรในเชิงเหตุผล สามารถนำหลักทฤษฎีไปใช้ในการบอก อธิบายเหตุผลในทางปฏิบัติ แก้ปัญหาการผลิตสุกรในฟาร์ม ยกตัวอย่างประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่นักศึกษาพบเห็น มีสื่อการสอนต่างๆ เช่น ภาพประกอบทั้งภาพนิ่งและคลิปวิดีโอ เป็นต้น
- มอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติมจากวารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสุกร
1. การทดสอบย่อยแต่ละหน่วยเรียน
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่มอบหมาย
นักศึกษาต้องคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้
3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ข้อ  3.1.1 3.1.2 เป็นความรับผิดชอบรอง
ในการสอนให้นักศึกษาคิด วิเคราะห์  การวางแผนการผลิต การจัดการเลี้ยงดูสุกรแต่ละระยะ เพื่อให้นักศึกษาเชื่อมโยงหลักการหรือทฤษฎีให้สอดคล้องกับหลักการปฏิบัติ ยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ  4.1.1  4.1.2 4.1.3 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่มหรือทีม
ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ  เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ  5.1.1 และ 5.1.2 และ 5.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
- กำหนดให้นักศึกษาสืบค้นจากหนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลต่างๆ
- ให้ค้นคว้าจัดทำรายงานเน้นการใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจน และกระชับ
- ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- ประเมินจากภาษาที่เขียนรายงาน และการนำเสนอในชั้นเรียน
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
มีทักษะในการผลิตสุกร
สถานการณ์จำลอง สาธิต และปฏิบัติจริง
ผลงานจากการปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม 5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG205 การผลิตสุกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
จรูญ  สินทวีวรกุล.  2562.  เอกสารประกอบการสอนวิชาการผลิตสุกร. สาขาวิชาสัตวศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์และ      เทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง, ลำปาง.
วันดี ทาตระกูล.2546. สุกรและการผลิตสุกร.  ภาควิชาสัตวศาสตร์,คณะเกษตรศาสตร์,  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.  374 น.                                                                                                                                
อรรณพ  คุณาวงษ์กฤต. 2545.  วิทยาการสืบพันธุ์สุกร.  สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กรุงเทพฯ. 408 น.                             
ปรียพันธุ์  อุดมประเสริฐ. 2542.  การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. อุดมสุขการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 199 น.                                                         
            ศรีสุวรรณ  ชมชัย.  2542.  คู่มือปฏิบัติการผสมเทียมในสุกร.  สัตว์เศรษฐกิจ,  กรุงเทพฯ.  285 น.  
วารสารเกษตรศาสตร์, วารสารโลกสุกร, สารเบ็ทเทอร์ฟาร์ม่า เพจเฟสบุ๊ค เรื่องหมู หมู (swine production) Thai Swine Farmer (ผู้เลี้ยงสุกรไทย) และAMGOVET          
ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์ http://www.dld.go.th 
Livestock and Poultry : World Markets and Trade
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
-การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
-ผลการทดสอบ
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4