วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ

Science for Health

1.1 เข้าใจเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพ
1.2 ความรู้เกี่ยวกบพืชพิษ และสมุนไพรในชีวิตประจำวัน
1.3 เข้าใจอันตรายของการใช้ยาและเครื่องสำอาง
1.4 รู้จักโรคสำคัญที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน
1.5 เข้าใจวิธีการสร้างเสริมสุขภาพ
1.6 ตระหนักถึงคุณค่าของการนำวิทยาศาสตร์ไปใช้เพื่อสุขภาพ
2.1 ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2.2 ส่งเสริมให้มีความรู้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.3 สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.4 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
อาหารเพื่อสุขภาพ พืชพิษและสมุนไพรในชีวิตประจำวัน การใช้ยาและเครื่องสำอาง โรคสำคัญที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน การเสริมสร้างสุขภาพ และแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
3 ชั่วโมง
ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
 
1.1 อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิก
1.2 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์ โดยไม่กระทำทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านผู้อื่น สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน ในรายวิชา รวมทั้งจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น ยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ประโยชน์แก่ส่วนรวม
1.1 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.2 ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1 บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.1 ประเมินผลจากการสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 การสอนภาคบรรยายมีการใช้ตัวอย่างที่เหมะสม
3.2 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์
3.3 อภิปรายกลุ่ม การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.4 เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม เพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา
3.4 และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษาในชั้นเรียน
3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์กับชีวิต
4.2  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3  การนำเสนอรายงาน
4.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
5.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.2 วิธีการสอน
6.3 วิธีการประเมินผล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 3 1 2
1 GEBSC105 วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 และ 17 60%
2 3.1 3.2 ประเมินผลงานการทำงานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 4.3 การส่งงานตามที่มอบหมายรายบุคคล ทุกสัปดาห์ 10%
4 5.2 ประเมินผลงานการทำงานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
5 1.3 การเข้าชั้นเรียน (บันทึกเวลาการมาเรียน) -สังเกตพฤติกรรมจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การแต่งกายเข้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
เอกสารประกอบการเรียนการสอน, สไลด์ประกอบการสอนแต่ละหน่วยเรียน
ไมตรี สุทธจิตต์ และคณะ, 2551 อาหารเพื่อสุขภาพ, องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก , กรุงเทพฯ สำนักงานสาธารณสุขมูลฐาน, 2540 ยาสมุนไพร, องค์การสงเคราะห์ทหาร ผ่านศึก, กรุงเทพฯ
รศ. วิฑูรย์ พลาวุฑฒ์, 2542, พืชสมุนไพรและยาไทย, วุฒิสาสน์ นครศรีธรรมราช
Tim Brown และวีรสิทธิ์ สิทธิไตรย์, 2539 ผลกระทบของโรคเอสด์ในเด็กในประเทศ ไทย, โครงการโรคเอสด์ สภากาชาดไทยและองค์การกองทุนช่วยเหลือเด็ก(สหราช อาณาจักร) กรุงเทพฯ
รศ. นพ จตุพล ศรีสมบูรณ์,2540, มะเร็งวิทยานรีเวช, เรือนแก้ว, กรุงเทพฯ
รศ. สุพัฒน์ ธีรเวชเจริญชัย, 2542, สุขภาพเพื่อชีวิต, ,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2535
นายแพทย์ กำพล ศรีวัฒนกุล ,2532, คู่มือการใช้ยาฉบับสมบูรณ์, บริษัท เมดาร์ท จำกัด, กรุงเทพฯ
กระทรวงศึกษาธิการ, 2539, แผนการป้องกันแก้ไขปัญหาโรคเอสด์, คุรุสภาลาดพร้าว, กรุงเทพฯ
เภสัชกร สรจักร ศิริบริรักษ์ ,2549, เภสัชโภชนา, ซีเอ็ด, กรุงเทพฯ
ภญ.ดร. สุชาดา สุนทรชัชเวช, คู่มือพืชมีพิษ, เภสัชกรรมทหารศูนยืการอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศและพลังงานทหาร, กรุงเทพฯ
สุดารัตน์ หอมหวน , 2007, พืชอันตราย, Thai Pharmaceutical and Health Science, 2, May-Aug.
คณะกรรมการอาหารและยา , 2546, เอกสารเผยแพร่: ฉลากอาหารใหม่สังเกตอย่างไร.
ธิดารัตน์ บัวชื่น, 2553, การควบคุมคุณภาพมาตรฐานของยาแผนปัจจุบัน, วารสารเพื่อการวิจัย และพัฒนาองค์การเภสัชกรรม ,17, 4, ตาลาคม –ธันวาคม
คณะกรรมการอาหารและยา, 2544, เอกสารเผยแพร่ : อันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง
ภก.อ.เฉลิมพล วนวงศ์ไทย, 2545, เครื่องสำอางจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปกร
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การประยุกต์ใช้สิ่งที่นักศึกษาได้เรียนในรูปแบบการนำเสนอแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน ผลการเรียนของนักศึกษา การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมใน
การระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยทำการสำรวจเบื้องต้นจากผลการประเมินการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
3.2 การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวัง
จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึง
พิจารณาจากผลการ ทดสอบ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.2 ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
4.3 การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมิน พฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองพัฒนาความคิดที่หลากหลาย