ฝึกงานวิชาชีพทางออกแบบสื่อสาร

Job Internship in Communication Design

เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเข้าฝึกงานในสถานประกอบการของรัฐบาล เอกชน และองค์กรไม่แสวงหากำไรที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ วีดิทัศน์และโทรทัศน์ เวบไชต์และสื่อ มัลติมีเดีย ธุรกิจโฆษณา การถ่ายภาพ หรือถ้าเป็นธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อโดยตรง ต้องมีแผนกงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อ ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของหัวหน้าสาขาวิชา เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 320 ชั่วโมง ตลอดจนเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานแล้ว นักศึกษาสามารถนำเสนอรายงานการฝึกวิชาชีพต่อคณะกรรมการการฝึกวิชาชีพได้ 
ไม่มีเนื่องจากสอนเป็นภาคการศึกษาแรก
ฝึกงานในสถานประกอบการของรัฐบาล เอกชน และองค์กรไม่แสวงหากำไรที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ วีดิทัศน์และโทรทัศน์ เวบไชต์และสื่อ มัลติมีเดีย ธุรกิจโฆษณา การถ่ายภาพ หรือถ้าเป็นธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อโดยตรง ต้องมีแผนกงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อ ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของหัวหน้าสาขาวิชา เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 320 ชั่วโมง เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานแล้วนักศึกษาต้องนำเสนอรายงานการฝึกวิชาชีพต่อคณะกรรมการการฝึกวิชาชีพ ซึ่งการวัดผลการฝึกวิชาชีพนี้ได้คะแนน เป็น S และ U
3.1 นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามต้องการ
3.2 จัดเวลาให้คำปรึกษาตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
3) มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
จัดกิจกรรมปฐมนิเทศฝึกงานที่สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ความมีระเบียบวินัย การรู้หน้าที่ในการทำงาน การมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1) ประเมินจากการตรงต่อเวลาและการมีส่วนร่วมในการฝึกงาน
2) ประเมินจากการตรงต่อเวลาและการมีส่วนร่วมในการนำเสนอฝึกงาน
มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านงานออกแบบสื่อสาร
ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1) ประเมินจากโปสเตอร์ฝึกงานที่นักศึกษาจัดทำ
2) ประเมินจากการนำเสนอฝึกงาน
3) ประเมินจากการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการฝึกงาน
การนำเสนอการฝึกงาน โดยอภิปรายกลุ่มร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากการฝึกงานของนักศึกษา และการนำเสนอการฝึกงาน
1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
จัดกิจกรรมปฐมนิเทศฝึกงานที่สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก และการแสดงความคิดเห็นต่างๆ
ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการฝึกงาน
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางด้านงานออกแบบสื่อสาร และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ให้นักศึกษาได้นำเสนอการฝึกงานของตนที่ผ่านมา
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนา
2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
3) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
นักศึกษาทำตามแบบและสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ตามงานที่หัวหน้างานมอบหมาย
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการฝึกงานและการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAACD124 ฝึกงานวิชาชีพทางออกแบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ประเมินจากการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ 1-17
2 ประเมินโปสเตอร์ฝึกงาน 17
3 ประเมินการนำเสนอฝึกงาน 17
คู่มือฝึกงานปี 2564
-
-
การประเมินประสิทธิผลจัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์คือ
ผลการเรียนของนักศึกษา  
จากการประเมินข้างต้นจึงปรับปรุงการสอนโดยระดมสมองและหาข้อมูลในการปรับปรุงการสอนดังนี้
ค้นคว้ารายงาน เพื่อประกอบการเรียนรู้ในการพัฒนานักศึกษา
ระหว่างกระบวนการสอน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ