ปฏิบัติงานเครื่องยนต์ดีเซล

Diesel Engine Practice

1.เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการทำงาน หน้าที่ระบบต่างๆ ของเครื่องยนต์ดีเซล 2. เพื่อให้สามารถถอดประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วนระบบต่างๆ ของเครื่องยนต์ดีเซลและบำรุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล 3. เพื่อให้มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบ สะอาด ประณีต ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม
เพื่อพัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับช่วงเวลาทันสมัยตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าไปค่อนข้างรวดเร็ว - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา - เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทั้งพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัยครบทุกส่วน
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์ดีเซล การตรวจวัดชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือวัดละเอียด การใช้เครื่องมือกลปรับปรุงสภาพชิ้นส่วน การปรับแต่งเครื่องยนต์ ระบบเพิ่มประจุไอดี การวิเคราะห์ข้อขัดข้องของเครื่องยนต์ดีเซล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในเวลาราชการในชั้นเรียน และเปิดช่องทางการให้คำปรึกษานอกเวลาเรียนผ่านทางโซเชียลมีเดีย  - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1. มิจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 
4. เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ 
2. สอดแทรกคุณธรรม ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ 
3. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม 
4. ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
1. การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม 
2. ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 
3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 
4. ความซื่อสัตว์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 
2. สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
3. สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
2. ใช้บูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงานมุ่งเน้นทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติ 
3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
1. การทดสอบย่อย 
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 
3. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ 
4. งานที่ได้มอบหมาย 
5. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 
6. แฟ้มสะสมผลงาน
1. มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ  แก้ไข
1. ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
2. บูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงานโดยใช้บทบาทสมมติสถานกาณณ์จำลอง และกรณีศึกษา
1. บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง 
2. การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่าง ๆ 
3. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 
4. กรทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 
3. สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 การกำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น 
2. ค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์
1. พฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน 
2. พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
1. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม 
2. สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
3. ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา 
2. นำเสนอและอภิปรายแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม 
3. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงานต่าง ๆ
 
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสาร 
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล 
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน 
4. จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1. สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน 
2. สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 
3. สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมเครื่องกลกับหน่วยงานภายในและภายนอก 
4. จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
1. มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 
2. มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน 
3. มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 8-17 40
3 ผลงานจากการลงมือปฏิบัติ ส่งการบ้านตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50
https://www.scribd.com/doc/62969919/งานเครื่องยนต์-ดีเซล
www.siacec.ac.th/data60/saowalak/S/งานเครื่องยนต์ดีเซล.doc www.nbtc.ac.th/web56/t-nbtc/1.1/4/03.pdf
มหาวิทยาลัย และคณะฯ จัดให้นักศึกษามีโอกาสประเมินการสอนของอาจารย์ทุกท่านในทุกรายวิชาที่เปิดสอน
คณะฯ กำหนดให้มีการประเมินเพื่อรับรองผลการเรียนของนักศึกษาในแต่ละรายวิชาโดยคณาจารย์ใน สาขาวิชาฯ และคณะกรรมการประจำคณะฯ ตามลำดับ
คณะฯ ส่งเสริมให้คณาจารย์ทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อนำผลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงการสอน มีการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการทำงานให้แก่คณาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเป็นประจำทุกปี
มีการประชุมเพื่อทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา จากคะแนนสอบหรืองานที่มอบหมายของนักศึกษาในแต่ละภาคการศึกษาโดยคณะกรรมการประจำหลักสูตรฯ และคณาจารย์ผู้สอน และมีการประชุมรับรองโดยคณะกรรมการคณะ
คณะฯ แจ้งผลการประเมินจากข้อ ๑ และ ๒ ให้อาจารย์ผู้สอนทราบ เพื่อวางแผนปรับปรุงการเรียนการ สอนของตนในครั้งต่อไป