วิศวกรรมงานหล่อโลหะ

Foundry Engineering

๑.๑. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและกรรมวิธีการหล่อโลหะต่างๆ แบบหล่อทราย  การทดสอบคุณสมบัติของทราย การทำแบบหล่อ  และไส้แบบทรายชนิดต่างๆ กลไกการแข็งตัวของน้ำโลหะ ระบบจ่ายน้ำโลหะ  การออกแบบรู้ล้น   วัสดุที่ใช้ในงานหล่อ  การหลอมและเทน้ำโลหะ  การทำความสะอาดและตรวจคุณภาพงานหล่อ
๑.๒. มีเจตคติที่ดีและใช้ความรู้ทางวิศวกรรมงานหล่อ ไปประยุกต์ในงานวิศวกรรมได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ       และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
ทางด้านวิศวกรรมงานหล่อ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยี
ใหม่ในด้านงานหล่อได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและกรรมวิธีการหล่อโลหะต่างๆ แบบหล่อทราย  การทดสอบคุณสมบัติของทราย การทำแบบหล่อ  และไส้แบบทรายชนิดต่างๆ กลไกการแข็งตัวของน้ำโลหะ ระบบจ่ายน้ำโลหะ  การออกแบบรู้ล้น   วัสดุที่ใช้ในงานหล่อ  การหลอมและเทน้ำโลหะ  การทำความสะอาดและตรวจคุณภาพงานหล่อ
- อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงว่างของการเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
๑.๑.๑ มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบวินัยและ
ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
๑.๑.๒มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อ
ขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า
และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
๑.๒.๑ อาจารย์บรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับนักศึกษา
๑.๒.๒ มอบหมายงานรายบุคคลและรายกลุ่ม
๑.๒.๓ สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพ
ระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่นการเข้าเรียนตรงต่อ
เวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น
๑.๓.๑ ประเมินผลจากการเข้าเรียน
๑.๓.๒ ประเมินผลการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและตรงเวลา
๑.๓.๓ สังเกตพฤติกรรมการตอบข้อซักถามและการยกตัวอย่างเปรียบเทียบใน ด้านการ
รักษากฎระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกันในสังคมองค์กรให้เห็นความมีคุณค่า มีเกียรติ รู้สึกภูมิใจใน
ตนเองและสถาบัน
๒.๑.๑ มีความรู้และความเข้าใจในเชิงทฤษฏีทางด้านงานหล่อโลหะ เพื่อการประยุกต์ใช้กับทางด้านวิศวกรรมงานหล่อชั้นสูง
๒.๑.๒ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงปฏิบัติด้านทางวิศวกรรมงานหล่อ
๒.๒.๑ บรรยายหลักการ ทฤษฎี ตามคำอธิบายรายวิชา อภิปรายระหว่างอาจารย์และ
นักศึกษา
๒.๒.๒ ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานโลหะเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
๒.๒.๓ มอบหมายงานตามใบปฏิบัติงาน
๒.๒.๔สรุปเนื้อหาบทเรียนร่วมกับนักศึกษา
๒.๓.๑ งานที่มอบหมาย สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบ
๓.๑.๑ มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
๓.๑.๒ สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
๓.๒.๑ บรรยายประกอบกับการแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน
๓.๓.๑ พิจารณาจากผลงานที่มอบหมาย
๓.๓.๒ สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
๔.๑.๑ รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานที่มอบหมายทั้งบุคคลและ
กลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะกับความรับผิดชอบ
๔.๒.๑ มอบหมายงานให้ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม, รายบุคคล และมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
๔.๓.๑ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
๔.๓.๒ สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียน
๕.๑.๑ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่าง
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
๕.๒.๑ โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
๕.๒.๒ อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
๕.๒.๓ อธิบายวิธีการใช้เครื่องคำนวณในส่วนของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
๕.๓.๑ ผลจากการประเมินการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
๕.๓.๒ ผลจากการสังเกตพฤติกรรม ในการทำงานรายบุคคลและกลุ่ม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการเสนอแนวความคิดและอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา การสอบกลางภาค,การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ ๘,๑๗ 20:20
     ธวัชชัย   ทรงปัญญาวุฒิ, เทคโนโลยีการหล่อโลหะ,2554
-ไม่มี
ตำราหรือเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมการหล่อโลหะ เช่น

ประยูร เกตุกราย, หล่อโลหะภาคผลิต, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), 2523.  Nagoya International Traning Center Japan Internation Cooperation Agency (JICA)., FOUNDRY ENGINEERING
๑.๑ แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนและแบบประเมินนักศึกษา
๒.๑  การสังเกตจากการเรียนการสอน
๒.๒ ผลการสอบ
๓.๑ การวิจัยในชั้นเรียน
 ๔.๑ การประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยออกระดับผลการเรียนให้กับนักศึกษาตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
๔.๒ รายงานผลการเรียนต่อฝ่ายทะเบียนและวัดผล
๕.๑ ปรับปรุงแนวการสอนจากผลการเมินของนักศึกษาทุกๆปี