การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น

Auditing and Assurance

เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติแนวคิดความสำคัญของการสอบบัญชีที่มีต่อระบบเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน วิวัฒนาการและวัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี ประเภทของการตรวจสอบ แม่บทสำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ในกรณีต่างๆความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการทุจริตและข้อผิดพลาด จรรยาบรรณ ของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการประเมินความเสี่ยงความมีสาระสำคัญ การวางแผนและการกำหนดแนวการตรวจสอบหลักฐานการสอบบัญชี การเลือกตัวอย่าง ในการสอบบัญชี การบันทึกผลการตรวจสอบและการจัดทำเอกสารการสอบบัญชีของ ผู้สอบบัญชี วิธีการตรวจสอบสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของกิจการ รายได้และ ค่าใช้จ่าย การสรุปผลการตรวจสอบและการจัดทำ รายงานการสอบบัญชี และรับรองภาษีอากร แนวทางการตรวจสอบโดยใช้คอมพิวเตอร์และการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติแนวคิดความสำคัญของการสอบบัญชีที่มีต่อระบบเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน วิวัฒนาการและวัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี ประเภทของการตรวจสอบ แม่บทสำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ในกรณีต่างๆความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการทุจริตและข้อผิดพลาด จรรยาบรรณ ของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการประเมินความเสี่ยงความมีสาระสำคัญ การวางแผนและการกำหนดแนวการตรวจสอบหลักฐานการสอบบัญชี การเลือกตัวอย่าง ในการสอบบัญชี การบันทึกผลการตรวจสอบและการจัดทำเอกสารการสอบบัญชีของ ผู้สอบบัญชี วิธีการตรวจสอบสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของกิจการ รายได้และ ค่าใช้จ่าย การสรุปผลการตรวจสอบและการจัดทำ รายงานการสอบบัญชี และรับรองภาษีอากร แนวทางการตรวจสอบโดยใช้คอมพิวเตอร์และการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี
การศึกษาด้วยตนเอง
90 ชั่วโมง
ข้อ 1 (1) สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน
ข้อ 1 (4) การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
เน้นความสำคัญของการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงของรายวิชา เน้นจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีปละกรณีศึกษา
ประเมินจากการตรงต่อเวลาของการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงต่างๆ
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 2 (3) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
ข้อ 2 (4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัยและวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ข้อ 3 (3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
จัดการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล เรียนรู้จากกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 4 (2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการนำเสนองานหน้าเรียน สังเกตการมีส่วนในการทำงานกลุ่ม
ข้อ 5 (2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
ให้นักศึกษานำเสนองานหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ข้อ 5 (2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ ข้อ 1 (1) สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน ข้อ 1 (4) การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ข้อ 2 (3) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ ข้อ 2 (4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัยและวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ข้อ 3 (3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 4 (2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
1 BACAC135 การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 1 (1) (2) ข้อ 2 (1) (2) (4) ข้อ 3 (1) (2) (3) ข้อ 4 (1) (2) (3) ข้อ 5 (1) (2) (3) - ทำแบบทดสอบกลางภาคบทที่ 1 – 7 - ทำแบบทดสอบปลายภาคบทที่ 8 - 14 9 17 35 คะแนน 35 คะแนน
2 ข้อ 1 (1) (2) ข้อ 2 (1) (2) (4) ข้อ 3 (1) (2) (3) ข้อ 4 (1) (2) (3) ข้อ 5 (1) (2) (3) - ประเมินจากการตรงต่อเวลาฯ - ประเมินจากงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10 คะแนน 20 คะแนน
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. 2560. การสอบบัญชี. กรุงเทพฯ.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้

การสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเป็นรายคนและรายกลุ่ม แบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้

สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำงาน การตรวจงานที่มอบหมาย การตรวจความมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ทดสอบวัดผลการเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้

ประชุมผู้สอนในสาขาเพื่อพิจารณาผลในภาพรวมและนำไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้

ทดสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการทวนถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น ทดสอบความรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับยุคสมัย ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนตามข้อเสนอและและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ