กีฬาเพื่อสุขภาพ

Sports for Health

1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับกีฬาและสุขภาพ
2. ปฏิบัติการปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
3. ประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อเพิ่มสมรรถภาพทางกาย
4. สามารถเลือกเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพตามความเหมาะสม
5. สามารถเลือกวิธีการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อสุขภาพได้
6. ตระหนักในคุณค่าของกิจกรรมกีฬาเพื่อสุขภาพ สามารถนำไปพัฒนาร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคม และสติปัญญา
1. เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การกีฬา สุขภาพส่วนบุคคล หลักการเลือกกีฬาเพื่อสุขภาพ การเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับวัยหรือสภาพร่างกาย การวางแผนการเล่นกีฬา พื้นฐานการเล่นกีฬา สมรรถภาพทางกายของกีฬาชนิดต่างๆ การบาดเจ็บทางการกีฬา รูปแบบการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อสุขภาพ ฝึกปฏิบัติกิจกรรมกีฬา
ทุกวันในเวลาราชการ ณ ห้องพักอาจารย์ กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ ทุกเขตพื้นที่
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. Brainstorming
2. Co – operative Learning
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2. การตอบสถานการณ์จำลอง
3. การส่งงานตรงเวลาและการเข้าชั้นเรียน
4. การแสดงความเคารพต่อสถานที่
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. Team Base Learning
2. Jigsaw Teaching
3. Brainstorming
การสอบวัดความรู้
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. Team Base Learning
2. Jigsaw Teaching
3. Brainstorming
1. การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2. การนำเสนอโปรแกรมและจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อสุขภาพ
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. Brainstorming
2. Simulation
3. Practice
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2. โครงงาน
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. Team Base Learning
2. Jigsaw Teaching
3. Brainstorming
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2. การนำเสนอผลงานของที่เชื่อมโยงกัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. กีฬาเพื่อสุขภาพ
2. สุขภาพส่วนบุคคล
3. เวชศาสตร์ทางการกีฬา
4. สมรรถภาพทางกาย
5. วิทยาศาสตร์การกีฬา
6. การจัดการแข่งขันกีฬา
1. http://www.healthsecrecy.com/
2. http://www.thaihealth.or.th/
3. http://hss.moph.go.th/index2.php
4. http://thaisportsmed.org/
5. http://www.sportclassic.in.th/
1. http://ww.sat.or.th/index.php/en/
2. http://resource.thaihealth.or.th/article-research
3. http://www.sportscience.or.th/th/
4. https://www.tci-thaijo.org/index.php/JSSTMU/issue/archive
5. http://www.hisosport.com/
6. http://www.sportfashion.in.th/
7. https://healthylifestyles.azurewebsites.net/
1. ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน
2. ให้นักศึกษาเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการสอน หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา
ประชุมผู้สอนและนำผลการประเมินของนักศึกษามาปรับปรุงการสอน หรือ ทำวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา  เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย หรือสำหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
นำผลการประเมิน และ ข้อเสนอแนะของนักศึกษามาปรับปรุงการเรียนการสอนในครั้งต่อไป