เครื่องยนต์เล็ก

Small Engines

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือในงานเครื่องยนต์เล็กชนิด ต่างๆ ทั้งเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีนและดีเซล หลักการทำงาน หน้าที่และชิ้นส่วน หน่วยการวัด และสมรรถนะของเครื่องยนต์ระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล ระบบจุดระเบิด ระบบการหล่อลื่น ระบบระบาย ความร้อน ระบบสตาร์ท ความปลอดภัยในการใช้งาน การบำรุงรักษา การปรับตั้งและ สาเหตุข้อขัดช้องและวิธีการแกไข
เพื่อพัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับช่วงเวลาทันสมัยตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าไปค่อนข้างรวดเร็ว - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา - เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทั้งพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัยครบทุกส่วน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือในงานเครื่องยนต์เล็กชนิด ต่างๆ ทั้งเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีนและดีเซล หลักการทำงาน หน้าที่และชิ้นส่วน หน่วยการวัด และสมรรถนะของเครื่องยนต์ระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล ระบบจุดระเบิด ระบบการหล่อลื่น ระบบระบาย ความร้อน ระบบสตาร์ท ความปลอดภัยในการใช้งาน การบำรุงรักษา การปรับตั้งและ สาเหตุข้อขัดช้องและวิธีการแกไข
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในเวลาราชการในชั้นเรียน และเปิดช่องทางการให้คำปรึกษานอกเวลาเรียนผ่านทางโซเชียลมีเดีย  - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
 
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่นและประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในและรายวิชา ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ดังนี้      1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม   1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ   1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม   1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  แก้ไข
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ผู้สอนต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชาและส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม  1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร  1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ  1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  2. สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  3. สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  
1. ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  2. ใช้บูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงานมุ่งเน้นทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติ  3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
1. การทดสอบย่อย  2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  3. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ  4. งานที่ได้มอบหมาย  5. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน  6. แฟ้มสะสมผลงาน
1. มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 
1. ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  2. บูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงานโดยใช้บทบาทสมมติสถานกาณณ์จำลอง และกรณีศึกษา 
1. บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง  2. การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่าง ๆ  3. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน  4. กรทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  3. สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 การกำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น  2. ค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์
1. พฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน  2. พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
1. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม  2. สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  3. ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา  2. นำเสนอและอภิปรายแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม  3. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงานต่าง ๆ
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสาร  2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล  3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน  4. จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสังคม
1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ  2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1. สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน  2. สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ  3. สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมเครื่องกลกับหน่วยงานภายในและภายนอก  4. จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา  แก้ไข
1. มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน  2. มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน  3. มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ    
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 8 17 30
2 ส่งการบ้านที่ได้รับมอบหมาย การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
เครื่องยนต์เล็ก
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้   
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   ปรับปรุงเนื้อหาและเทคนิคการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในการประยุกต์ใช้ความรู้เหล่านั้นกับปัญหาต่าง ๆ