วิศวกรรมอาหาร 1

Food Engineering 1

1)  อธิบาย/อภิปรายหลักการต่างๆที่เกี่ยวข้องวิศวกรรมอาหารเบื้องต้น
2)  คำนวณและแก้โจทย์ปัญหาของกระบวนการทางวิศวกรรมอาหาร
3) แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหลักวิศวกรรมอาหารกับ กระบวนการผลิตอาหารแบบต่างๆ
1) เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2) เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน
ความรู้เบื้องต้นในงานวิศวกรรมอาหาร อุณหพลศาสตร์ สมดุลมวล และพลังงาน การถ่ายโอนความร้อน และมวลสาร กลศาสตร์ของไหล  การแช่เย็น และการแช่เยือกแข็ง
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.1 มีจิตสานึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้า
ชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตาม ระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2 นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงาน
กลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการ เป็นสมาชิกกลุ่ม
1.3 มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการ สอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
1.1 ประเมินจากความตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและ การร่วมกิจกรรม
1.2 ป ร ะ เ มิ น จ า ก ก า ร มี วิ นั ย แ ล ะ พ ร้ อ ม เ พ รี ย ง ข อ ง
นักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.4 พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและ อภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 นักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นงาน วิศวกรรมอาหารหน่วยวัดและมิติ เน้นหลักการคำนวณด้านสมดุลมวลและพลังงาน อุณหพลศาสตร์ การถ่ายโอนความร้อนและมวล สาร กลศาสตร์ของไหล ใน กระบวนการปฏิบัติการเฉพาะหน่วยในวิศวกรรมอาหาร การสกัด การกลั่น การแยก การระเหย การทำแห้ง การลดขนาด การผสม การใช้อุณหภูมิต่ำในกระบวนการแปร รูปอาหาร หลักการออกแบบเครื่องมือ และอาคารโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1 ใช้การสอนบรรยายแบบ Active Learning โดย
เน้น ใ ห น ก ศึ ก ษ า ห า ท า ง คน ค ว้ า ข้อมูล เพิ่ม เติ ม แ ล ะ หาทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหรือภายในกลุ่ม โดยมี อาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น
2.2 การสอนแบบ Hybrid learning การสอนโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
2.3 การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทาง อินเตอร์เน็ต
2.4 จัดให้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
2.1 การทดสอบย่อย
2.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.4 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูล สารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และ เสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ  เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
3.1 มอบหมายงานกลุ่มเพื่อศึกษากรณีศึกษาพร้อม
อภิปราย
3.2 การอภิปรายกลุ่มจากผลการปฏิบัติ
3.3 ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
3.1 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.2 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT011 วิศวกรรมอาหาร 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 2.1 2.1 สอบย่อย (หน่วยที่ 1, 2, 3, 8, 9) สอบกลางภาค (หน่วยที่ 4, 5) สอบปลายภาค (หน่วยที่ 6, 7) 3, 5, 11, 16 9 18 35 % 20 % 15 % 1.3, 3.4, 4.1 1.3, 4.1 1.3 การนำเสนองานวิจัยและรายงาน ราย