วิทยานิพนธ์

Thesis

1. เข้าใจกระบวนการทำงานวิจัย
2. เข้าใจกระบวนการทำงานทดลอง
3. เข้าใจกลไกและกระบวนการเขียนรายงานการวิจัยในปัญหาเฉพาะทางด้านพืชศาสตร์
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจกระบวนการวิจัย  การทำงานทดลอง  การเขียนรายงานการวิจัยในปัญหาเฉพาะทางด้านพืชศาสตร์ และกำหนดผลเรียนรู้ของรายวิชาวิทยานิพนธ์ให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษากาหนดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาวิทยานิพนธ์ในแต่ละหัวข้อให้มีความชัดเจนมากขึ้น และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้และการทาวิทยานิพนธ์ให้มาตรฐานเดียวกัน
กระบวนการวิจัย  การทำงานทดลอง  การเขียนรายงานการวิจัยในปัญหาเฉพาะทางด้านพืชศาสตร์
3
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills)
3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
 
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  สามารถแก้ไขปัญหาทาง
วิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้
รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.5  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การสังเกต
2 .การนำเสนองาน
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การสังเกต
2 .การนำเสนองาน
         
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 MSCPT502 วิทยานิพนธ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 การรายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 การรายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 การรายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 การรายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 4 8 12 16 10% 20% 10% 20%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.1,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ตลอดภาคการศึกษา 10 %
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8, 15 และ 16 5%
เกรียงไกร จำเริญมา.  2540. การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน. เอกสารวิชาการ กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 360 หน้า.
จำนง  อุทัยบุตร. 2542. เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชาชีววิทยา 716 (202716) สารสังเคราะห์ที่ใช้ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. 268 น.
ชิติ  ศรีตนทิพย์.  2556. เอกสารคำสอน วิชาการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics culture). สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง. 247 หน้า.
ชิติ ศรีตนทิพย์  สันติ ช่างเจรจา  ยุทธนา  เขาสุเมรุ พิทักษ์  พุทธวรชัย สัญชัย พันธโชติและสุนันท์  เลสัก. 2556. การปลูกผักไร้ดินต้นทุนต่ำเชิงการค้าในชุมชุน. ณ ศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านใหม่นาแขม  ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ  จังหวัดลำปาง แหล่งทุนโดย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ชิติ  ศรีตนทิพย์. 2556. การผลิตลำไยนอกฤดู. พิมพ์ครั้งที่ 2. ศิลปะการพิมพ์. ลำปาง 124 หน้า
ดนัย  บุญยเกียรติ. 2537. สรีรวิทยาของพืชสวน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 210 น.
นพดล  จรัสสัมฤทธิ์. 2536.  ฮอร์โมนและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. โรงพิมพ์ สหมิตรออฟเซท. กรุงเทพฯ. 128 น.
พีรเดช  ทองอำไพ. 2529.  ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ : แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ. 196 น.
ยงยุทธ  โอสถสภา. 2543. ธาตุอาหารพืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 424 น.
ยงยุทธ  โอสถสภา. 2549. บทบาทของธาตุอาหารรองและจุลธาตุในการผลิตพืช. วารสารดินและปุ๋ย. 28(3): 123-134.
วัชรศักดิ์ สุขเจริญวิภารัตนและ ธรรมศักดิ์ ทองเกต. 2548.  ผลของความเข้มข้นของธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียมในปุ๋ยทางน้ำต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวา.วิทยาสารกำแพงแสน 3 (1): 18-29.
สมบุญ  เตชะทัญญาวัฒน์. 2538. สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพฤษศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพ ฯ.  203 น.
สัมฤทธิ์  เฟื่องจันทร์.  2538.  แร่ธาตุอาหารพืชสวน.  ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.  604  น.
สัมฤทธิ์  เฟื่องจันทร์. 2524. แร่ธาตุอาหารพืช. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. 100 น.
สัมฤทธิ์ เฟื่องจันทร์. 2537. สรีรวิทยาไม้ผล. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น. 437.
สัมฤทธิ์ เฟื่องจันทร์. 2544. สรีรวิทยาการพัฒนาการพืช. หจก. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. ขอนแก่น. 665 น.
สุมาลี สุทธิประดิษฐ์. 2536. ความอุดมสมบูรณ์ของดิน. เอกสารประกอบการสอน  ภาควิชาธรณีศาสตร์ คณะทรัพยกรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา. 349 น.
CCA Biochemical Co., Inc. 1998. User Guide of Plant Growth Regulator. CCA Biochemical Co., Inc., Los Angeles. 243 p.
Davies, P.J. 1995. Plant Hormones Physiology, Biochemistry and Molecular Biology. Kluwer Academic Publishers. London. 833 p.
Fitter, A. H. and R. K. M. Hay. 1987. Environmental Physiology of Plant. 2rd Edition. Academic Press. London.423 p.
Hoagland, D.R. and D.I. Arnon. 1952.  The water culture method for growing plants without soil. California Agricultural Experimental Station, Circ. 347.
Jones, J.B. 2005. Hydroponics a Practical Guide for the Soilless Grower. 2nd Edition. CRC Press. Washington, D.C. 423 p.
Kozlowski, T.T. and Pallardy, G.S. 1997.  Growth  Control and Woody Plants. Academic  Press. San  Diego. 641 p.
Luttge, U. 1997. Physiology Ecology of Tropical Plant. Springer-Verlag, Berlin. 384 p.
Marschner, H. 1995. Mineral Nutrition of Higher Plant. 2nd edition. Academic Press. New York. 889 p.
Ross, M.A. and C.A. Lembi. 1985. Applied Weed Science. Burgess Publishing Company, Mineapolis, Minn. 340 p.
Sritontip. C., Y.,  Khaosumain,  S., Changjeraja and R., Poruksa. 2005. Effects of potassium chlorate, sodium hypochlorite and calcium hypochlorite on flowering and some physiological changes in ‘Do’ longan. Acta Hort. 665 : 269-274.
Sritontip C., Y., Khaosumain,  S., Changjeraja and R. Poruksa. 2005. Effects of potassium chlorate, potassium nitrate, sodium hypochlorite and thiourea on off-season flowering and photosynthesis of  ‘Do’ longan. Acta Hort. 665 : 291-296.
Stecher, P.G., M.J. Finkel, O.H. Siegmund and B.M. Szafranski. 1960. The Merck Index of Chemicals and Drugs. Seventh Edition. Merck & Co, Inc. Rahway, New Jersey. 1642 p.
Weaver, R.J. 1972. Plant Growth Substances in Agriculture. W. H. Freeman and Company. San Francisco. 594 p.
เอกสารฐานข้อมูลด้านงานวิจัย TCI Scopus
Crop production, Smart farm, Precision Agricultural  และ Plant physiology
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป