แหล่งพลังงานทางเลือกและพลังงานทดแทน

Alternative and Renewable Energy Resources

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์พลังงาน การสำรวจแหล่งพลังงานธรรมชาติที่นำมาใช้ใหม่ได้ พลังงานแสงอาทิตย์  พลังงานลม  พลังงานจากชีวมวล  พลังงานคลื่นและพลังงานน้ำขึ้นน้ำลง  พลังงานน้ำ  พลังงานความร้อนใต้พิภพ  ความมีอยู่และการกระจายตัวของแหล่งพลังงาน  วิวัฒนาการทางเทคโนโลยีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ
เพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสภาวิศวกรเพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทนและให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางวิศวกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
สถานการณ์พลังงาน การสำรวจแหล่งพลังงานธรรมชาติที่นำมาใช้ใหม่ได้ พลังงานแสงอาทิตย์  พลังงานลม  พลังงานจากชีวมวล  พลังงานคลื่นและพลังงานน้ำขึ้นน้ำลง  พลังงานน้ำ  พลังงานความร้อนใต้พิภพ  ความมีอยู่และการกระจายตัวของแหล่งพลังงาน  วิวัฒนาการทางเทคโนโลยีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ มีการปลูกฝังความรับผิดชอบให้นักศึกษา ตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย การทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์ โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น
ประเมินจาการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกําหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม การมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเนื้อหาของวิชา แหล่งพลังงานธรรมชาติที่นำมาใช้ใหม่  สามารถใช้ความรู้และทักษะในวิชา แหล่งพลังงานธรรมชาติที่นำมาใช้ใหม่  ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
เน้นศึกษาแหล่งพลังงานธรรมชาติที่นำมาใช้ใหม่ ที่สามารถนำมาใช้ได้กับประเทศไทยรูปแบบการนำมาใช้ และยกตัวอย่างการนำมาใช้งานในปัจจุบัน เน้นการคำนวณหาค่าพลังงานแต่ละรูปแบบความร้อน
มีการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค และประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย  รวมทั้งการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาพลังงานแต่ละรูปแบบได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการถ่ายเทความร้อน โดยใช้หลักการวิจัย การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและผู้อื่น
ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
ประเมินจากการสังเกต  และการถามตอบ  การทำงานเป็นกลุ่ม
มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2, 3, 4 และ 5 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 30% 10% 30%
2 1, 2, 3, 4 และ 5 การศึกษาค้นคว้า การทำงานกลุ่มและผลงาน การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1, 2,3 และ 4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน,กรม. (2547) “รายงานพลังงานในประเทศไทย”

ปี2547. กรุงเทพฯ:กรมพัฒนาพลังงานทดแทนอนุรักษ์พลังงาน.

ทรัพยากรธรณ์ ,กรม. (2530).  รายงานสำรวจ ฉบับบที่ 1 . กรุงเทพฯ: กองเศรฐกิจและ

เผยแพร่ กรมทรัพยากรธรณี.
4.        วรนุช แจ้งสว่าง. (2533). “พลังงานหมุนเวียน”, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
5.        อนุวัตร จำลองกุล. (2555). “พลังงานทดแทน”.ทริปเพิ้ล เอ็ดดุเคชั่นจำกัด. กรุงเทพฯ.
6.        อนุสรณ์ชิณสุวรรณ.(2543).เอกสารประกอบการสอนเครื่องจักรกลของไหล,
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมพล วงศ์ต่อม. (2548). เอกสารประกอบการสอนเครื่องจักรกลของไหล,มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
9.        Boyle, G. (1996) Renewable energy power for a sustainable. United Kingdom:
Alden University.
10.      Financial Time Energy World. (1998). White hot rocks. F. T. Energy
World. 18-23.
11.      Johnson, G.L.(1985). Wind energy system. London: Prentice- Hall.
12.      Manwell J.F.,McGowan J.G. and Togers A.L., (2002) Wind Energy Explained,
John Willey & Son
13.      Rama S.R. Gerla, and Aijaz A. Khan. (2003).  Turbomachinery Design and                         Theory.Marcel dekker, Inc. Madison Avenve  Newyork.
14.      Sayers,A.T.  (1992). Hydraulic and compressible flow turbo machines. McGraw –                    Hill Book Company,London.
สามารถดาวโหลดจากเว็บไซท์ Renewable  Energy  Resources
เอกสารประกอบการสอนรายสัปดาห์สามารถดาวโหลดจากเว็บไซท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องเรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซท์ราชาวิชา  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีสรุปและวางแผนการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ