ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 3

Practical Skills in Plant Science 3

1.1 มีฝึกทักษะความชำนาญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืช 1.2 มีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานทางการผลิตพืช 1.3 มีทักษะในการเตรียมดิน การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การปลูก การดูแลรักษา และเก็บเกี่ยวผลผลิต ในแผนกที่นักศึกษาสนใจเป็นพิเศษ 1.4 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ฝึกทักษะวิชาชีพทางพืชศาสตร์เพื่อสร้างประสบการณ์ในการผลิตพืชอย่างเป็นระบบ โดยให้เลือกฝึกปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของสาขาพืชศาสตร์ที่นักศึกษาสนใจเป็นพิเศษ ดำเนินการสร้างทักษะในการผลิตพืชครบวงจร เพื่อให้สามารถเข้าใจช่องทางในการสร้างอาชีพและรายได้
ทุกวันทำการสาขาพืชศาสตร์ ตึก9 0804937829
 
1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 3.เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. มีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม  จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2. กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าปฏิบัติงานตรงเวลาและสม่ำเสมอ 3. ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย ปฏิบัติงานให้สำเร็จตามกำหนด
1. ร้อยละ ๘๐ ของนักศึกษา เข้าปฏิบัติงานตรงเวลา 2. ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษา ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้ฝึกกำหนด
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. ฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและในแปลงปลูก 2. นักศึกษาบันทึกขั้นตอนการปฏิบัติงาน  ผลจากการปฏิบัติงาน ตลอดจนอุปสรรคปัญหาที่เกิด
1. ประเมินจากาการผลการปฏิบัติงาน และจากการบันทึกการปฏิบัติงาน
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. มอบหมายงานที่มีการใช้ทักษะทางการเกษตรและพื้นฐานทางพืชศาสตร์มาบูรณาการใช้ในการ
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. ให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม
1. ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม 2. สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษา
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. รายงานผลการฝึกทักษะ โดยให้มีการวิเคราะห์ในการนำความรู้ไปใช้ในการเรียนวิชาชีพทางพืชศาสตร์ต่อไป
1. ประเมินผลจากรายงานผลการปฏิบัติงาน
1. สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 2. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 3. สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ
1. ผลจากการปฏิบัติจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BSCAG103 ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 5.3 สร้างกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน 1-17 30%
2 4.1, 4.2, 4.3 มีความเข้าใจหลักการปฏิบัติงานเกษตรในฟาร์ม 1-17 10%
3 1.3 2.3 3.3 4.3 5.3 สามารถปฏิบัติงานเกษตรตามหลักการและกระบวนการ 1-17 50%
4 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.3 5.1 5.2 5.3 รายงานผลปฏิบัติงาน 1-17 10%
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชสวนประดับ-ไม้ดอก  พืชผัก ไม้ผล  พืชไร่ และที่เกี่ยวข้องกับการ ผลิตพืชทั่วไป
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยภาควิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนิสิตและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนิสิต ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุป วางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา /คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป