วาดเส้นสร้างสรรค์

Creative Drawing

๑.๑. รู้ลักษณะเฉพาะของวาดเส้นสร้างสรรค์
๑.๒. เข้าใจหลักการพัฒนารูปแบบการวาดเส้นสร้างสรรค์
๑.๓. พิจารณาเลือกเทคนิค วิธีการคลี่คลายรูปแบบ วิธีการประยุกต์ใช และพัฒนาแนวคิด
๑.๔. มีทักษะในการปฏิบัติงานวาดเส้นสร้างสรรค์เน้นความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่มี
ลักษณะเฉพาะตน
๑.๕. เห็นความสำคัญและคุณค่าของงานวาดเส้นสร้างสรรค์
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา วาดเส้นสร้างสรรค์ สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ การวาดเส้นสร้างสรรค์ กับแนวทางการสร้างงานศิลปกรรม
ศึกษาและปฏิบัติการเขียนภาพสร้างสรรค์จากความเข้าใจทางทัศนธาตุ รูปทรง ระนาบ พื้นผิว ปริมาตร น้ำหนัก จากวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลายโดยเลือกใช้เทคนิค วิธีการทางกระบวนการวาดเส้นให้สอดคล้องกับแนวคิดในการสร้างสรรค์งานศิลปะ
อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั่วโมงเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า
ข้อ 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ข้อ 2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ข้อ 3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอนและประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
ให้นักศึกษาอ้างอิงผลงานวาดเส้นของศิลปินที่เกี่ยวข้อง ไม่มีการลอกเลียนแบบผลงานของศิลปิน และมีการเช๊คชื่อการเข้าเรียน และส่งงานอย่างตรงต่อเวลา  ให้นักศึกษารับฟังการนำเสนอผลงานของเพื่อนร่วมชั้นเรียน สอดแทรกหลักคุณธรรมและจริยธรรมต่อจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ข้อ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่าง         เป็นระบบ

ข้อ 3  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม (ไม่มี         การรับผิดชอบหรือการประเมิน)

ข้อ 4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน        ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)    
 
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ  
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ คือ
                  1. การทดสอบย่อย
                  2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
                  3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
                  4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
                  5.  ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
                  6.  ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปะนิพนธ์ที่นำเสนอ
                  7.  ประเมินจาการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการณ์
ข้อ 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี        วิจารณญาณ

  ข้อ 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (ไม่มีการ        รับผิดชอบหรือการประเมิน)  

ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพ        ได้  
ข้อ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
         ใช้กรณีศึกษา  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
 ประเมินผลจากหลักฐานการส่งเอกสารการนำเสนอผลงาน ในแต่ละครั้ง โดยมีแหล่งอ้างอิงข้อมูลที่มีอยู่จริงเชื่อถือได้ มีการบูรณาการทดลองเทคนิคอื่นๆหรือศาสตร์อื่นๆ ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และมีการพัฒนาการ ทางด้าน รูปแบบ เทคนิค และแนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
ข้อ 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษย         สัมพันธ์ที่ดี
ข้อ 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถร่วมงานกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
ข้อ 1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนวิธีการ         สื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือ         การประเมิน)
ข้อ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือ         การนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลขหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับ        งานศิลปกรรม (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูลการนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องจากการใช้ข้อมูลตัวและเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ        
  ประเมินจากการสืบค้นข้อมูล โดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการค้นหาข้อมูล   ประเมินจากการอธิบาย  การนำเสนอผลงานในแต่ละสัปดาห์ (Project) ในแต่ละครั้ง มีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและพัฒนาชิ้นงานของตนเองที่มาจากการศึกษา วิเคราะห์ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
       (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
ข้อ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
       (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)   
ข้อ 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วย
               ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและจากชิ้นงานมีการใช้เทคนิคทางวาดเส้นสร้างสรรค์ รูปแบบและแนวความคิด มีความสอดคล้องกัน ตรงตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโครงงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA122 วาดเส้นสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม มีความเข้าใจการสร้างสรรค์รูปทรง องค์ประกอบ และทัศนธาตุในงานวาดเส้นสร้างสรรค์ การนำเสนอผลงานครั้งที่ 1,2,3 สอบกลางภาค การนำเสนอผลงานครั้งที่ 1,2,3 สอบกลางภาค การนำเสนอผลงานครั้งที่ 4,5,6,7,8 สอบปลายภาค 5,6,8,10,12,13,15,17 20% 40%
2 ความรู้ นำเสนอผลงานได้อย่างมีกระบวนการ และสามารถนำไปพัฒนาผลงานวาดเส้นเส้นสร้างสรรค์ ในทางเทคนิควิธีการให้สอดคล้องต่อแนวความคิดมากขึ้น ประเมินการนำเสนอในแต่ละครั้ง มีการประเมิน และวิจารณ์ผลงานและการส่งงานตามที่มอบหมายทุกครั้ง มีแนวความคิดสอดคล้องกับเทคนิควาดเส้นสร้างสรรค์และทัศนธาตุทางองค์ประกอบศิลป์ ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 ทักษะทางปัญญา มีความรับผิดชอบในการส่งงานตรงเวลา จิตพิสัย ความสนใจ ส่งงานตรงต่อเวลา การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ มีสมุดสเก๊ตซ์และภาพร่างต้นแบบ ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6 ทักษะพิสัย
หนังสือศิลปะและการวาดเส้น
วาดเส้นสร้างสรรค์ศ.เกียรติคุณ ชลูด นิ่มเสมอ
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับงานวาดเส้นสร้างสรรค์
- วารสาร ศิลปะต่างๆ
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับงานวาดเส้นสร้างสรรค์
- จัดทำการทวนสอบวัดผลสัมฤทธิ์การศึกษา โดยนักศึกษาเป็นผู้ประเมิน
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา งานวาดเส้นสร้างสรรค์
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย